×

Science

นักดาราศาสตร์ ดวงจันทร์
13 ตุลาคม 2024

นักดาราศาสตร์อาจพบหลักฐานดวงจันทร์ดวงแรก ที่โคจรรอบดาวเคราะห์ในระบบดาวอื่น

นักดาราศาสตร์อาจพบหลักฐานของดวงจันทร์บริวาร ที่โคจรรอบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะดวงแรก ในระบบดาวที่อยู่ห่างโลกไป 635 ปีแสง จากการศึกษาพฤติกรรมของดวงจันทร์ไอโอที่โคจรรอบดาวพฤหัสบดี   ในปัจจุบันนักดาราศาสตร์ยังไม่พบหลักฐานที่ชัดเจนว่ามีดวงจันทร์โคจรรอบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ เนื่องจากดวงจันทร์เหล่านี้อาจมีขนาดเล็กเกินกว่าที่เทคโนโลยีบนโลกในปั...
AI เวทีโนเบล
11 ตุลาคม 2024

เมื่อ AI เฉิดฉายในเวทีโนเบล กับดาบสองคมที่อาจดิสรัปต์วงการและคุกคามมนุษยชาติ

ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ที่กำลังมีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์มากขึ้นเรื่อยๆ กลายเป็นไฮไลต์สำคัญหรือถือเป็นพระเอกของเวทีประกาศรางวัลโนเบลประจำปี 2024 เลยก็ว่าได้ หลังสาขาหลักทางวิทยาศาสตร์​ 2 สาขา อันได้แก่ ​ฟิสิกส์ และเคมี ต่างก็มีผู้ชนะรางวัล​ด้วยผลงานที่เกี่ยวข้องกับปัญญา​ประดิษฐ์​เป็น​หลัก ซึ่งถือเป็นเรื่องที่ไม่เคยมีมาก่อน   เจฟฟรีย์...
โครงข่ายประสาทเทียม
11 ตุลาคม 2024

กว่าจะมาเป็น AI ย้อนต้นกำเนิดโครงข่ายประสาทเทียม สู่โนเบลฟิสิกส์ปี 2024 และคำเตือนจากหนึ่งในบิดาแห่ง AI

ประกาศแล้วสำหรับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี 2024 ซึ่งปีนี้เป็นของ จอห์น โจเซฟ ฮอปฟิลด์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันจากมหาวิทยาลัย​พรินซ์ตัน​ ที่ได้รับรางวัลนี้ร่วมกับ เจฟฟรีย์ อี. ฮินตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวแคนาดา-อังกฤษจากมหาวิทยาลัยโทรอนโต ในผลงานการค้นพบและประดิษฐ์กลไกเพื่อวางรากฐาน​ให้ AI สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านทาง โครงข่ายประสาทเทียม ...
11 ตุลาคม 2024

NOAA แจ้งเตือนพายุแม่เหล็กโลกระดับ G4 หลังดวงอาทิตย์พ่นมวลโคโรนา เดินทางมาถึงโลก

ศูนย์พยากรณ์สภาพอวกาศของ NOAA ออกแจ้งเตือนพายุแม่เหล็กโลก จากการพ่นมวลโคโรนาของดวงอาทิตย์ระดับ G4 ซึ่งเดินทางมาถึงโลกเมื่อคืนวันที่ 10 ตุลาคมที่ผ่านมา   อย่างไรก็ตาม พายุแม่เหล็กโลกดังกล่าวไม่เป็นอันตรายต่อชีวิต และเกิดขึ้นบ่อยครั้งในช่วงมีกิจกรรมทางธรรมชาติบนดวงอาทิตย์มากในช่วงวัฏจักรสุริยะที่ 25 และไม่ส่งผลกระทบต่อผู้คนในไทยโดยตรง พร้อ...
Westerlund 1
10 ตุลาคม 2024

ESA เผยภาพซูเปอร์กระจุกดาว Westerlund 1 จากกล้องเจมส์ เว็บบ์

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เผยภาพถ่ายกระจุกดาว Westerlund 1 ที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์น้อยใหญ่อยู่ใกล้กันอย่างหนาแน่น จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   กระจุกดาวดังกล่าวอยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 12,000 ปีแสง พบครั้งแรกโดยนักดาราศาสตร์ชาวสวีเดนชื่อ Bengt Westerlund ในปี 1961 และกลายเป็นเป้าหมายที่ได้รับความสนใจจากนักดาราศาสตร์ทั่วโลก เพื่อศึกษา...
โนเบล
10 ตุลาคม 2024

3 นักวิทย์ที่สร้างผลงานเกี่ยวกับโครงสร้างของโปรตีน คว้าโนเบลสาขาเคมีปี 2024

รางวัลโนเบลสาขาเคมีปี 2024 ที่ประกาศโดยราชบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดน เป็นของนักวิทยาศาสตร์ 3 คนที่สร้างผลงานเกี่ยวกับโครงสร้างของ โปรตีน   รางวัลถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นของ ศ.เดวิด เบเกอร์ (David Baker) ผู้อำนวยการสถาบันการออกแบบโปรตีนจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวอชิงตัน ในซีแอตเทิล สำหรับการออกแบบโปรตีนเชิงคำนวณ รางวัลส่วน...
นักบินอวกาศ เลือกตั้ง
9 ตุลาคม 2024

นักบินอวกาศ NASA เลือกตั้งจากนอกโลกได้อย่างไร?

ในวันที่ 5 พฤศจิกายนนี้ สหรัฐอเมริกาจะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนใหม่ ระหว่าง Donald Trump อดีตประธานาธิบดีคนที่ 45 และ Kamala Harris รองประธานาธิบดีคนปัจจุบันที่รับไม้ต่อจาก Joe Biden ที่ประกาศถอนตัวจากการเป็นตัวแทนพรรคเดโมแครตอีกสมัย และกำลังจะหมดวาระลงในวันที่ 20 มกราคม 2025   ผู้มีสิทธิเลือกตั้งครั้งนี้ต้องเป็นพลเรือนอเมริกันที่มีอา...
8 ตุลาคม 2024

ยุโรปส่งยาน Hera ไปสำรวจดาวเคราะห์น้อย หลังถูกยานอวกาศของ NASA พุ่งชน

วันที่ 7 ตุลาคม เวลา 21.52 น. จรวด Falcon 9 ของ SpaceX ประสบความสำเร็จในการนำส่งยาน Hera ขององค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA ออกเดินทางไปศึกษาผลกระทบที่เกิดกับดาวเคราะห์น้อย หลังถูกยานอวกาศของ NASA พุ่งชน   ภารกิจของยานอวกาศ Hera คือการศึกษาระบบดาวเคราะห์น้อย Didymos และดวงจันทร์บริวาร Dimorphos ที่ถูกยานอวกาศ DART (Double Asteroid Redirection...
5 ตุลาคม 2024

มหาวิทยาลัยมหิดลส่งข้าวไทยขึ้นไปทดลองการเจริญเติบโตบนอวกาศกับดาวเทียม ‘สือเจี้ยน-19’ ของจีน

มหาวิทยาลัยมหิดลส่งข้าวไทยร่วมเดินทางขึ้นสู่อวกาศไปกับดาวเทียม ‘สือเจี้ยน-19’ (实践-19) เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมนอกโลกและพัฒนาเทคนิคด้านการเกษตรกรรมอวกาศ   เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2567 เวลา 18.30 น. จรวด Long March 2D นำส่งดาวเทียมสือเจี้ยน-19 ขึ้นจากฐานปล่อยจิ่วฉวน ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน โดยเป็นภารกิจทดสอบดาวเทียมวิจ...
Voyager 2
2 ตุลาคม 2024

NASA สั่งปิดอุปกรณ์สำรวจพลาสมาบนยาน Voyager 2 เพื่อยืดอายุภารกิจให้ทำงานถึงปี 2030

NASA ตัดสินใจปิดอุปกรณ์สำรวจพลาสมาบนยาน Voyager 2 เพื่อช่วยยืดอายุให้ยานอวกาศทำงานจากสุดขอบระบบสุริยะได้ถึงปี 2030 เป็นอย่างน้อย   หลังจากเดินทางในอวกาศมานานกว่า 47 ปี และเดินทางไปไกลกว่า 20,500 ล้านกิโลเมตรจากโลก ทีมวิศวกรของภารกิจVoyager2 ได้ส่งคำสั่งปิดการทำงานของอุปกรณ์สำรวจพลาสมา นับเป็นอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ตัวที่ 6 ของยานที่ถูกสั่ง...

MOST POPULAR


Close Advertising
X