×

Science

อพอลโล 11 ดวงจันทร์
20 กรกฎาคม 2023

ครบ 54 ปี อพอลโล 11 จอดบนดวงจันทร์ ย้อนเส้นทางแสนลำเค็ญ สู่ก้าวที่ยิ่งใหญ่ของมนุษยชาติ

“ผมเชื่อมั่นว่าประเทศนี้ควรมุ่งมั่นที่จะส่งมนุษย์ไปลงจอดบนดวงจันทร์ และพาเขากลับโลกอย่างปลอดภัย ก่อนที่ทศวรรษนี้ (ทศวรรษ 1960) จะสิ้นสุดลง” คือบางส่วนที่ประธานาธิบดีจอห์น เอฟ เคนเนดี กล่าวต่อสภาคองเกรสสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 1961   เวลาล่วงเลยไป 8 ปีจากวันนั้น วันที่ 20 กรกฎาคม 1969 ภารกิจอพอลโล 11 ได้เดินทางไปลงจอดบนดวงจันทร์เป็นค...
Mars Express
16 กรกฎาคม 2023

เปิดภาพโลกและดวงจันทร์ ถ่ายจากยานสำรวจบนดาวอังคาร

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เปิดภาพถ่ายโลกและดวงจันทร์จากยาน Mars Express เนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ปีของภารกิจสำรวจดาวอังคาร   ดาเนียลา ทิร์สช์ ทีมภารกิจที่ดูแลอุปกรณ์ HRSC หรือกล้องถ่ายภาพความละเอียดสูงของยาน Mars Express เปิดเผยว่า “ภาพดังกล่าวไม่ได้มีคุณค่าในเชิงวิทยาศาสตร์มากนัก แต่เมื่อสถานการณ์อำนวยให้เราหันกล้องมายังโลกได้ เราก็อยากใ...
NASA
14 กรกฎาคม 2023

EXCLUSIVE: คุยกับนักดาราศาสตร์ NASA สรุปการค้นพบสำคัญในรอบ 1 ปี กล้องเจมส์ เว็บบ์

จากการสำรวจดาวเคราะห์ต่างๆ ในระบบสุริยะ สู่ภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกในจุดเริ่มต้นของจักรวาล กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ช่วยปลดล็อกมุมมองและองค์ความรู้ใหม่ๆ ในด้านดาราศาสตร์อย่างมากมาย ในระยะเวลาเพียงแค่ 1 ปีที่กล้องได้เริ่มต้นปฏิบัติการสำรวจด้านวิทยาศาสตร์อย่างเต็มรูปแบบ   วันที่ 12 กรกฎาคม 2022 NASA และองค์การอวกาศยุโรป (ESA) พร้อมด้ว...
14 กรกฎาคม 2023

WHO ประกาศแอสปาร์แตมเป็นสารก่อมะเร็งระดับ 2B สรุปแล้วยังกินได้ไหม?

ในวันนี้ (14 กรกฎาคม) สองหน่วยงานภายใต้สังกัดองค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศอย่างเป็นทางการว่า แอสปาร์แตม ซึ่งเป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาลนั้น เป็นสารที่ ‘มีความเป็นไปได้ที่จะก่อมะเร็ง’ (ต้นทางภาษาอังกฤษคือ Possibly Carcinogenic to Humans) แต่ ‘ยังสามารถกินได้อยู่’ ซึ่งคำตอบของ WHO ทำให้หลายคนออกอาการงงงวยว่าแล้วตกลงฉันจะต้องทำยังไงกับมันกันแน่ &nb...
Chandrayaan-3
14 กรกฎาคม 2023

ยาน ‘จันทรายาน-3’ ของอินเดียทะยานสู่ดวงจันทร์ ตั้งเป้าเป็นมหาอำนาจการสำรวจอวกาศ

‘จันทรายาน-3’ (Chandrayaan-3) ยานอวกาศของฝั่งอินเดียที่ใช้งบประมาณในการก่อสร้างสูงเฉียด 75 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 2.5 พันล้านบาทไทย ได้พุ่งทะยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศจากฐานปล่อยจรวดในรัฐอานธรประเทศ ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของอินเดียแล้วในวันนี้ (14 กรกฎาคม) เมื่อเวลา 14.35 น. ตามเวลาท้องถิ่น หรือเวลา 16.05 น. ตามเวลาประเทศไทย   หนังสือพิมพ์ The Gu...
แอสปาร์แตม มะเร็ง
14 กรกฎาคม 2023

WHO ประกาศให้แอสปาร์แตมเป็นสารอาจก่อมะเร็ง แต่ยังกินได้ปลอดภัยหากอยู่ในปริมาณที่กำหนด

ในวันนี้ (14 กรกฎาคม) สองหน่วยงานภายใต้สังกัดขององค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศอย่างเป็นทางการว่า แอสปาร์แตม ซึ่งเป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาลนั้น เป็นสารที่ ‘มีความเป็นไปได้ที่จะก่อมะเร็ง’ แต่ถึงเช่นนั้นก็ยังบริโภคได้อย่างปลอดภัยหากอยู่ในปริมาณที่กำหนดไว้   การประกาศดังกล่าวมาจากคณะผู้เชี่ยวชาญขององค์กรสองแห่งภายใต้สังกัด WHO คือ องค์การระห...
James Webb Space Telescope
13 กรกฎาคม 2023

ย้อนดูผลงานกล้องโทรทรรศน์เจมส์ เว็บบ์ ครบ 1 ปี มีภาพน่าทึ่งอะไรบ้าง

ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2022 ประธานาธิบดีโจ ไบเดน แห่งสหรัฐอเมริกา ได้เปิดเผยภาพถ่ายจากคลื่นอินฟราเรดภาพแรกจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ในระหว่างการแถลงข่าว ณ ทำเนียบขาว โดยเป็นภาพจากห้วงอวกาศที่ลึกที่สุดและคมชัดมากที่สุดเท่าที่กล้องโทรทรรศน์เคยบันทึกมาได้ ถือเป็นภาพประวัติศาสตร์ของมวลมนุษยชาติ และเป็นการเปิดตัวผลงานของเจมส์ เว็บบ์ ไ...
ดาวฤกษ์
12 กรกฎาคม 2023

พบดาวฤกษ์เกิดใหม่ 50 ดวง ในภาพถ่ายกลุ่มก๊าซ Rho Ophiuchi จากกล้องเจมส์ เว็บบ์

เย็นวันนี้ (12 กรกฎาคม) ตามเวลาประเทศไทย NASA และ ESA ได้ร่วมกันเผยแพร่ภาพถ่ายของกลุ่มก๊าซกำเนิดดาวฤกษ์ ‘โร โอฟิวคี’ (Rho Ophiuchi) ที่อยู่ห่างจากระบบสุริยะไปประมาณ 390 ปีแสง ในโอกาสฉลองครบรอบ 1 ปี การปฏิบัติภารกิจสำรวจจักรวาลของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   ในภาพถ่ายนี้ นักดาราศาสตร์ได้พบดาวฤกษ์เกิดใหม่มากกว่า 50 ดวง ที่มีมวลคล้ายดว...
8 กรกฎาคม 2023

ชมคลิป: แอสปาร์แตม สารให้ความหวานที่อาจก่อมะเร็ง? | THE STANDARD

รู้จัก ‘แอสปาร์แตม’ สารให้ความหวานที่ WHO จ่อประกาศว่าอาจเป็นสารก่อมะเร็ง อันตรายแค่ไหน?     เรื่อง: ปัทมาสน์ ชนะรัชชรักษ์ บรรยาย: วริษฐา แซ่เจีย ตัดต่อ: ศุภอาฒย์ มั่นสิงห์...
หลุมดำมวลยิ่งยวด
7 กรกฎาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบหลุมดำมวลยิ่งยวดไกลจากโลกที่สุดในประวัติศาสตร์

NASA และ ESA ได้ร่วมกันเผยแพร่ข้อมูลล่าสุดจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ที่ตรวจพบหลุมดำมวลมหึมาในกาแล็กซี CEERS 1019 ซึ่งมีอยู่ตั้งแต่เอกภพยังมีอายุแค่ 570 ล้านปี หรือเราได้เห็นสภาพของมันที่เป็นอยู่เมื่อประมาณ 13,200 ล้านปีที่แล้ว   CEERS 1019 มีมวลประมาณ 9 ล้านเท่าของดวงอาทิตย์ ถือว่าค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับหลุมดำแห่งอื่นที่ถูกตรว...

MOST POPULAR


Close Advertising