×

Science

CUHAR
29 กรกฎาคม 2023

ทอ. เปิดบ้านกองกิจการอวกาศ ถกความร่วมมือจุฬาฯ ผลักดันพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศร่วมกับพลเรือน

เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคมที่ผ่านมา กองทัพอากาศเปิดพื้นที่กองกิจการอวกาศ ศูนย์วิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการบินและอวกาศ ต้อนรับทีมนักศึกษา CUHAR (Chulalongkorn University High Altitude Research: กลุ่มวิจัยอาณาบริเวณที่สูง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าเยี่ยมชมและร่วมหารือความร่วมมือ เพื่อร่วมกันผลักดันและพัฒนางาน...
สภาคองเกรส ไต่สวน UFO
27 กรกฎาคม 2023

สภาคองเกรสเปิดไต่สวน ปมรัฐบาลสหรัฐฯ ปิดบังข้อมูล UFO

เมื่อคืนวันที่ 26 กรกฎาคม ตามเวลาประเทศไทย สภาคองเกรสได้เปิดการไต่สวนแบบสาธารณะเกี่ยวกับปรากฏการณ์ผิดปกติที่ไม่สามารถระบุได้ หรือ UAP (Unidentified Anomalous Phenomena) หรือ UFO (Unidentified Flying Object) ตามที่ใช้กันแพร่หลายในสาธารณะ ที่มีผลต่อความมั่นคงของประเทศ ความปลอดภัยของสาธารณะ และความโปร่งใสของรัฐบาล   นี่คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ...
เจมส์ เว็บบ์
25 กรกฎาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบไอน้ำในบริเวณที่มีดาวเคราะห์คล้ายโลกกำลังกำเนิด

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้พบหลักฐานของไอน้ำในจานฝุ่นก๊าซรวมมวล หรือ Protoplanetary Disk ชั้นในของระบบดาว PDS 70 เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่มีการพบหลักฐานของน้ำนอกระบบสุริยะในบริเวณที่อาจมีการก่อตัวของดาวเคราะห์หินคล้ายโลกขึ้น   PDS 70 เป็นดาวฤกษ์แบบดาวแคระส้ม (เย็นกว่าดวงอาทิตย์) อยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 370 ปีแสง และมีดาวเคราะ...
นักเรียนตาบอด ดาราศาสตร์
22 กรกฎาคม 2023

NARIT เปิดท้องฟ้าจำลอง จัดกิจกรรมศึกษาดาราศาสตร์สำหรับนักเรียนตาบอด

ถ้าดวงตาไม่อาจมองเห็นดวงดาวได้ การศึกษาดาราศาสตร์จะเป็นไปได้เช่นไร?   สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT เปิดท้องฟ้าจำลองและพื้นที่อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร จัดกิจกรรมค่ายส่งเสริมโอกาสการเรียนรู้ดาราศาสตร์สำหรับผู้บกพร่องทางการมองเห็น ให้กับนักเรียนจากโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่   โดยกิจ...
20 กรกฎาคม 2023

รู้จัก เจ. โรเบิร์ต ออปเพนไฮเมอร์: ผู้ทำนายการมีอยู่ของหลุมดำ และบิดาแห่งระเบิดปรมาณูที่โลกทั้งรักและชัง

วันที่ 1 กันยายน 1939 กองทัพนาซีเยอรมนียกพลบุกยึดครองโปแลนด์ เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองที่พลิกโฉมประวัติศาสตร์ไปตลอดกาล   แต่ในวันเดียวกัน ยังมีอีกสิ่งที่พลิกโฉมการศึกษาด้านอวกาศ เพราะงานวิจัย On Continued Gravitational Contraction ของ เจ. โรเบิร์ต ออปเพนไฮเมอร์ และ ฮาร์ตแลนด์ สไนเดอร์ ได้รับการตีพิมพ์ ซึ่งงานวิจัยดังกล่าวได้...
อพอลโล 11 ดวงจันทร์
20 กรกฎาคม 2023

ครบ 54 ปี อพอลโล 11 จอดบนดวงจันทร์ ย้อนเส้นทางแสนลำเค็ญ สู่ก้าวที่ยิ่งใหญ่ของมนุษยชาติ

“ผมเชื่อมั่นว่าประเทศนี้ควรมุ่งมั่นที่จะส่งมนุษย์ไปลงจอดบนดวงจันทร์ และพาเขากลับโลกอย่างปลอดภัย ก่อนที่ทศวรรษนี้ (ทศวรรษ 1960) จะสิ้นสุดลง” คือบางส่วนที่ประธานาธิบดีจอห์น เอฟ เคนเนดี กล่าวต่อสภาคองเกรสสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 1961   เวลาล่วงเลยไป 8 ปีจากวันนั้น วันที่ 20 กรกฎาคม 1969 ภารกิจอพอลโล 11 ได้เดินทางไปลงจอดบนดวงจันทร์เป็นค...
Mars Express
16 กรกฎาคม 2023

เปิดภาพโลกและดวงจันทร์ ถ่ายจากยานสำรวจบนดาวอังคาร

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เปิดภาพถ่ายโลกและดวงจันทร์จากยาน Mars Express เนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ปีของภารกิจสำรวจดาวอังคาร   ดาเนียลา ทิร์สช์ ทีมภารกิจที่ดูแลอุปกรณ์ HRSC หรือกล้องถ่ายภาพความละเอียดสูงของยาน Mars Express เปิดเผยว่า “ภาพดังกล่าวไม่ได้มีคุณค่าในเชิงวิทยาศาสตร์มากนัก แต่เมื่อสถานการณ์อำนวยให้เราหันกล้องมายังโลกได้ เราก็อยากใ...
NASA
14 กรกฎาคม 2023

EXCLUSIVE: คุยกับนักดาราศาสตร์ NASA สรุปการค้นพบสำคัญในรอบ 1 ปี กล้องเจมส์ เว็บบ์

จากการสำรวจดาวเคราะห์ต่างๆ ในระบบสุริยะ สู่ภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกในจุดเริ่มต้นของจักรวาล กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ช่วยปลดล็อกมุมมองและองค์ความรู้ใหม่ๆ ในด้านดาราศาสตร์อย่างมากมาย ในระยะเวลาเพียงแค่ 1 ปีที่กล้องได้เริ่มต้นปฏิบัติการสำรวจด้านวิทยาศาสตร์อย่างเต็มรูปแบบ   วันที่ 12 กรกฎาคม 2022 NASA และองค์การอวกาศยุโรป (ESA) พร้อมด้ว...
14 กรกฎาคม 2023

WHO ประกาศแอสปาร์แตมเป็นสารก่อมะเร็งระดับ 2B สรุปแล้วยังกินได้ไหม?

ในวันนี้ (14 กรกฎาคม) สองหน่วยงานภายใต้สังกัดองค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศอย่างเป็นทางการว่า แอสปาร์แตม ซึ่งเป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาลนั้น เป็นสารที่ ‘มีความเป็นไปได้ที่จะก่อมะเร็ง’ (ต้นทางภาษาอังกฤษคือ Possibly Carcinogenic to Humans) แต่ ‘ยังสามารถกินได้อยู่’ ซึ่งคำตอบของ WHO ทำให้หลายคนออกอาการงงงวยว่าแล้วตกลงฉันจะต้องทำยังไงกับมันกันแน่ &nb...
Chandrayaan-3
14 กรกฎาคม 2023

ยาน ‘จันทรายาน-3’ ของอินเดียทะยานสู่ดวงจันทร์ ตั้งเป้าเป็นมหาอำนาจการสำรวจอวกาศ

‘จันทรายาน-3’ (Chandrayaan-3) ยานอวกาศของฝั่งอินเดียที่ใช้งบประมาณในการก่อสร้างสูงเฉียด 75 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 2.5 พันล้านบาทไทย ได้พุ่งทะยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศจากฐานปล่อยจรวดในรัฐอานธรประเทศ ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของอินเดียแล้วในวันนี้ (14 กรกฎาคม) เมื่อเวลา 14.35 น. ตามเวลาท้องถิ่น หรือเวลา 16.05 น. ตามเวลาประเทศไทย   หนังสือพิมพ์ The Gu...

MOST POPULAR


Close Advertising
X