×

Science

3 มกราคม 2024

โลกโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดในรอบปี 2024

วันนี้ (3 มกราคม) เวลา 07.38 น. โลกโคจรเข้าสู่จุด Perihelion หรือจุดใกล้สุดของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ในรอบปี 2024 ด้วยระยะห่างประมาณ 147,100,632 กิโลเมตร ระหว่างแกนกลางของโลกและดวงอาทิตย์   เนื่องจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีเฉกเช่นวัตถุต่างๆ ในระบบสุริยะ ทำให้ในหนึ่งคาบการโคจรจะมีช่วงที่โลกเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด ซึ่งมักเกิดในช่วงต้นเด...
1 มกราคม 2024

มนุษย์จะกลับไปดวงจันทร์ ส่งยานไปดวงจันทร์ยูโรปา รวมไฮไลต์สำรวจอวกาศปี 2024

ในปี 2024 มีภารกิจการสำรวจอวกาศที่น่าจับตาหลายภารกิจ โดยเฉพาะการเดินทางกลับสู่ดวงจันทร์อีกครั้งในรอบ 52 ปีของมนุษยชาติ เช่นกันกับภารกิจยานอวกาศหลายประเทศที่ถูกวางแผนให้มุ่งหน้าไปสำรวจเป้าหมายต่างๆ รอบระบบสุริยะ   โดยยานอวกาศจีนเตรียมเดินทางไปเก็บหินจากด้านไกลดวงจันทร์กลับโลกครั้งแรก นอกจากนี้ยังมีภารกิจออกสำรวจเพื่อไขปริศนาที่ซ่อนอยู่ใต้...
29 ธันวาคม 2023

SpaceX ส่งยานอวกาศลับ X-37B ของกองทัพอวกาศ ขึ้นสู่วงโคจรรอบโลก

เช้าวันที่ 29 ธันวาคม ตามเวลาประเทศไทย SpaceX ส่งยานอวกาศลับ X-37B ของกองทัพอวกาศสหรัฐฯ ในภารกิจ USSF-52 เดินทางขึ้นสู่อวกาศได้สำเร็จ   เมื่อเวลา 07.07 น. ตามเวลาประเทศไทย จรวด Falcon Heavy ได้นำยานอวกาศ X-37B ออกเดินทางขึ้นจากฐานปล่อย 39A ที่ศูนย์อวกาศเคนเนดีของ NASA โดยถือเป็นครั้งแรกที่จรวด Falcon Heavy ได้พา X-37B เดินทางขึ้นสู่อวกาศ...
พงศธร สายสุจริต
26 ธันวาคม 2023

“วันหนึ่งทุกคนจะมีดาวเทียมเป็นของตัวเอง” คุยกับ ดร.พงศธร สายสุจริต ผู้สร้างดาวเทียมสัญชาติไทยดวงแรก

เมื่อเทคโนโลยีเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตของมนุษย์อย่างแยกไม่ออก ทั่วโลกตระหนักถึงความก้าวกระโดด ซึ่งนอกจาก AI แล้ว หนึ่งในเทคโนโลยีที่กำลังรอวันผงาดก็คือ ‘เทคโนโลยีอวกาศ’ ที่ทำให้การเดินทางสู่ห้วงจักรวาลไม่ใช่ฝันที่แสนไกลอีกต่อไป เมื่อยานหรือดาวเทียมอาจเป็นสิ่งที่ใครๆ ก็สามารถมีได้ เหมือนในยุคคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีใครเคยคาดคิดว่าจะมีอยู่ทุกบ้าน ...
ยาน SLIM
26 ธันวาคม 2023

ยาน SLIM ของญี่ปุ่น เข้าสู่วงโคจรรอบดวงจันทร์ได้สำเร็จ ก่อนลงจอด 19 มกราคมนี้

ยานอวกาศ Smart Lander for Investigating Moon หรือ SLIM ขององค์การวิจัยและพัฒนาสำรวจอวกาศญี่ปุ่น หรือ JAXA เดินทางเข้าสู่วงโคจรรอบดวงจันทร์ได้สำเร็จ ก่อนมีกำหนดลงจอดในคืนวันที่ 19 มกราคม 2024   เมื่อเวลา 14.51 น. ของวันที่ 25 ธันวาคม 2023 ตามเวลาประเทศไทย JAXA รายงานว่า ยาน SLIM ได้เข้าสู่วงโคจรที่มีจุด Perilune หรือจุดใกล้ดวงจันทร์สุด 60...
ต้นคริสต์มาสแห่งเอกภพ
25 ธันวาคม 2023

NASA เผยภาพต้นคริสต์มาสแห่งเอกภพรับวันคริสต์มาสปี 2023

NASA เปิดภาพถ่ายมุมมองใหม่ของวัตถุ NGC 2264 จากการรวมข้อมูลกล้องโทรทรรศน์ที่สำรวจจักรวาลในช่วงคลื่นต่างกัน เผยให้เห็นความงามของ ‘ต้นคริสต์มาสแห่งเอกภพ’ รับวันคริสต์มาสปี 2023   วัตถุ NGC 2264 อยู่ห่างจากโลกประมาณ 2,500 ปีแสง ประกอบด้วยเนบิวลาเรืองแสงและกระจุกดาวฤกษ์อายุน้อยจำนวนมาก โดยภาพที่ NASA เปิดเผยเมื่อวันที่ 20 ธันวาคมนี้ ได้รวมข้...
23 ธันวาคม 2023

นักบินอวกาศจีนออกปฏิบัติภารกิจซ่อมแผงโซลาร์เซลล์บนสถานีอวกาศได้สำเร็จ

สองนักบินอวกาศจีนของภารกิจเสินโจว-17 ประสบความสำเร็จในการซ่อมบำรุงแผงโซลาร์เซลล์นอกสถานีอวกาศเทียนกง เมื่อวันที่ 21 ธันวาคมที่ผ่านมา   การซ่อมบำรุงดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติภารกิจภายนอกยาน หรือ EVA โดยมีทังหงโป ผู้บัญชาการภารกิจ และถังเซิ่งเจี๋ย เป็นสองนักบินอวกาศที่ออกไปนอกยาน ในขณะที่เจียงซินหลินคอยให้การสนับสนุนจากภายในสถานีอว...
NASA
22 ธันวาคม 2023

NASA เผยผลศึกษา UFO – นานาประเทศมุ่งสู่ดวงจันทร์ – งานไทยไปอวกาศ สรุปไฮไลต์เด่นสำรวจอวกาศปี 2023

ปี 2023 เป็นอีกปีที่มีกิจกรรมด้านอวกาศเกิดขึ้นในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการค้นพบใหม่ ภารกิจสำรวจอวกาศ และปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ จากทั้งภาครัฐ เอกชน ไปจนถึงสถาบันการศึกษานานาประเทศ ที่เข้ามามีบทบาทกับเรื่องราวด้านอวกาศอย่างเห็นได้ชัด   THE STANDARD ชวนย้อนดูเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นตลอดช่วงหนึ่งคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ของดาวเคราะห์สีครามดวง...
NASA
21 ธันวาคม 2023

NASA ทดสอบส่งคลิปแมวกลับโลกผ่านระบบสื่อสารด้วยเลเซอร์จากยาน Psyche ในห้วงอวกาศลึก

NASA ประสบความสำเร็จในการทดสอบส่งไฟล์วิดีโอความละเอียดสูงผ่านระบบ Deep Space Optical Communications หรือ DSOC ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการสาธิตเทคโนโลยีระบบสื่อสารด้วยเลเซอร์ในช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้   และวิดีโอแรกที่ NASA เลือกใช้คือคลิปของเจ้า ‘Taters’ แมวส้มของหนึ่งในเจ้าหน้าที่ Jet Propulsion Laboratory หรือ JPL ที่กำลังวิ่งไล่ตามแสงเลเซอร์...
NASA ดาวยูเรนัส
19 ธันวาคม 2023

NASA เผยภาพถ่ายดาวยูเรนัส พร้อมวงแหวนและดวงจันทร์สุดคมชัด จากกล้องเจมส์ เว็บบ์

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้บันทึกภาพของดาวยูเรนัสในช่วงคลื่นอินฟราเรด ที่เผยให้เห็นรายละเอียดอันแสนสวยงามเหนือบรรยากาศของดาว เช่นเดียวกับวงแหวนและดวงจันทร์บริวารที่ปรากฏร่วมเฟรม   เนื่องจากดาวยูเรนัสโคจรรอบดวงอาทิตย์แบบเอียงทำมุม 98 องศา เทียบกับระนาบของระบบสุริยะ ทำให้แถบขั้วเหนือของดาวปรากฏเด่นเป็นสีขาวอยู่ในชั้นบรรยากาศของดาวย...

MOST POPULAR


Close Advertising