×

ปิยธิดา ตรีสุวรรณ

พลาสติก มหาสมุทร
9 มีนาคม 2023

งานศึกษาเผย ตรวจพบอนุภาคพลาสติกกว่า 170 ล้านล้านชิ้นในมหาสมุทร หลังมลพิษพุ่งสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์

ผลงานศึกษาล่าสุดจากทีมนักวิทยาศาสตร์นานาชาติเผยว่า ปัจจุบันมหาสมุทรหลายแห่งทั่วโลกกำลังประสบปัญหา ‘หมอกควันพลาสติก’ (Plastic Smog) ซึ่งเกิดจากพลาสติกที่แตกตัวเป็นอนุภาคขนาดเล็กประมาณ 171 ล้านล้านชิ้น และหากรวมตัวกันแล้วอาจมีน้ำหนักอยู่ที่ประมาณ 2.3 ล้านตัน    โดยทีมนักวิทยาศาสตร์ได้รวบรวมข้อมูลจากทั่วโลกช่วงปี 1979-2019 จากจุดสุ่มตั...
7 มีนาคม 2023

นานาชาติร่วมลงนามสนธิสัญญาทะเลหลวงครั้งประวัติศาสตร์ เพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ

นานาชาติเกือบ 200 ประเทศร่วมลงนามข้อตกลงทำสนธิสัญญาทะเลหลวง (High Seas Treaty) ซึ่งมีผลผูกพันทางกฎหมาย เพื่อปกป้องสิ่งมีชีวิตในเขตน่านน้ำสากล โดยข้อตกลงดังกล่าวได้รับการลงนามเมื่อวันที่ 4 มีนาคมที่ผ่านมา หลังจากการเจรจานานกว่า 2 สัปดาห์ที่สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ (UN) ในมหานครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา สิ้นสุดลง โดยการประชุมในเซสชันสุดท้ายใช้เว...
มหาพีระมิดแห่งกีซา
3 มีนาคม 2023

อียิปต์เผยภาพ ‘ทางเดินลับ’ ในมหาพีระมิดแห่งกีซาเป็นครั้งแรก

เจ้าหน้าที่โบราณวัตถุของอียิปต์เปิดเผยคลิปวิดีโอที่บันทึกภาพของทางเดินภายในมหาพีระมิดแห่งกิซาที่ซ่อนอยู่เหนือทางเข้าหลัก โดยคลิปวิดีโอแสดงให้เห็นด้านในของทางเดินซึ่งมีสภาพว่างเปล่า มีผนังที่ทำด้วยหินสกัดหยาบๆ และเพดานโค้งที่ทำจากหิน ทางเดินแห่งนี้มีความยาว 9 เมตร และกว้าง 2.1 เมตร เจ้าหน้าที่สันนิษฐานว่า ทางเดินนี้อาจสร้างขึ้นเพื่อรองรับน้ำหนักบริเ...
เชื้อโควิด
1 มีนาคม 2023

ผอ. FBI เชื่อ มีความเป็นไปได้ที่เชื้อโควิดอาจรั่วไหลมาจากแล็บจีน

คริสโตเฟอร์ เรย์ ผู้อำนวยการสำนักงานสอบสวนกลางสหรัฐฯ (FBI) เชื่อว่า บางทีเชื้อโควิดอาจมีต้นกำเนิดมาจากแล็บที่ควบคุมโดยรัฐบาลจีน     เขาให้สัมภาษณ์กับสถานีโทรทัศน์ Fox News ว่า หลังจากที่ FBI ได้ประเมินมาระยะหนึ่ง ชี้ว่ามีความเป็นไปได้ที่ต้นเหตุของการระบาดของโควิดอาจมาจากอุบัติเหตุในห้องแล็บ ซึ่งถือเป็นการยืนยันต่อสาธารณชนครั้งแ...
28 กุมภาพันธ์ 2023

สหรัฐฯ ขีดเส้นตาย 30 วัน สั่งหน่วยงานรัฐลบ TikTok จากอุปกรณ์ทั้งหมด

วานนี้ (27 กุมภาพันธ์) ทำเนียบขาวประกาศให้เวลาหน่วยงานในสังกัดรัฐบาลกลาง 30 วัน ในการลบแอปพลิเคชัน TikTok ออกจากโทรศัพท์และระบบของหน่วยงานรัฐทั้งหมด และห้ามให้มีการรับส่งข้อมูลผ่านทางอินเทอร์เน็ตในแอปพลิเคชันดังกล่าว เพื่อรักษาข้อมูลของรัฐบาลให้ปลอดภัย   โดยเมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมา สภาคองเกรสได้มีการลงมติห้ามพนักงานของรัฐบาลกลางใช้แอปพ...
ห้องแล็บในอู่ฮั่น
28 กุมภาพันธ์ 2023

รายงานลับฉบับใหม่ของสหรัฐฯ ชี้ เชื้อโควิดอาจรั่วไหลมาจากห้องแล็บในอู่ฮั่น

รายงานลับฉบับใหม่จากกระทรวงพลังงานของสหรัฐอเมริกาที่ได้รับการเผยแพร่ใน Wall Street Journal ชี้ว่า เชื้อโควิดอาจรั่วไหลมาจากห้องปฏิบัติการในเมืองอู่ฮั่นของจีน   ทั้งนี้ มีการตรวจพบไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือ SARS-CoV-2 ครั้งแรกในเมืองอู่ฮั่น ทางตอนกลางของประเทศจีน ในช่วงปลายปี 2019 และหลังจากนั้นก็เกิดการแพร่ระบาดไปทั่วโลกอย่างรวดเร็วจน...
23 กุมภาพันธ์ 2023

เจ้าหน้าที่กองทัพเรือสหรัฐฯ กังวล จีนต่อเรือรบได้เร็ว ขณะที่สหรัฐฯ ตามไม่ทันด้านจำนวน

เจ้าหน้าที่กองทัพเรือสหรัฐอเมริกาเผยว่า เวลานี้กองทัพเรือของจีนมีความได้เปรียบที่สำคัญเหนือกองทัพเรือสหรัฐฯ ด้วยขนาดกองเรือที่ใหญ่กว่า และมีขีดความสามารถในการต่อเรือที่เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่จีนกำลังแผ่ขยายอิทธิพลทางทะเลอย่างต่อเนื่อง   คาร์ลอส เดล โตโร รัฐมนตรีว่าการทบวงทหารเรือสหรัฐฯ ระบุว่า จีนพยายามที่จะละเมิดอำนาจอธิปไตยทางทะเลและผลปร...
ภัยแล้งในอิตาลี
21 กุมภาพันธ์ 2023

อิตาลีเผชิญภัยแล้งรอบใหม่ ทำคลองเวนิสแห้งขอด เรือสัญจรไม่ได้

รายงานของกลุ่มนักวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อมระบุว่า สภาพอากาศในฤดูหนาวที่แห้งแล้งมาเป็นเวลานานหลายสัปดาห์ทำให้เกิดความวิตกกังวลว่าอิตาลีอาจต้องเผชิญกับภัยแล้งอีกครั้งในปีนี้ หลังเมื่อปี 2022 อิตาลีเคยเจอกับภัยแล้งรุนแรงสุดในรอบ 70 ปี จนถึงขั้นที่ต้องประกาศภาวะฉุกเฉินเพื่อรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าว    เมืองเวนิสซึ่งโดยปกติแล้วเผชิญกับน...
เครื่องประดับยุคอังกอร์
21 กุมภาพันธ์ 2023

ทีมสืบสวนเผย มีการส่งเครื่องประดับยุคอังกอร์ที่พบในกรุงลอนดอนคืนให้กัมพูชาแล้ว

ทีมสืบสวนเผยว่า ทรัพย์สมบัติเครื่องประดับยุคอังกอร์ของกัมพูชาที่พบอีกครั้งในกรุงลอนดอน เมืองหลวงของสหราชอาณาจักร เมื่อปี 2022 ได้รับการส่งกลับไปยังกรุงพนมเปญ เมืองหลวงของกัมพูชาอย่างลับๆ แล้ว และเตรียมจัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติเร็วๆ นี้   โดยสมบัติดังกล่าวเคยอยู่ในการครอบครองของ ดักลาส แลตช์ฟอร์ด นักลักลอบค้าโบราณวัตถุชาวอังกฤษที่เสียช...
17 กุมภาพันธ์ 2023

งานวิจัยเผย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อาจทำให้ยุงแพร่เชื้อมาลาเรียได้ง่ายยิ่งขึ้น

งานวิจัยล่าสุดเผย เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สิ่งมีชีวิตในเขตร้อนหลายชนิด รวมถึงยุงจะอพยพและเคลื่อนย้ายไปยังที่อยู่อาศัยแห่งใหม่ที่ไกลจากเส้นศูนย์สูตรในทวีปแอฟริกามากยิ่งขึ้น    โดยข้อมูลจากทีมวิจัยของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ ตั้งแต่ปี 1898 พบว่า ยุงที่เป็นพาหะของเชื้อมาลาเรียนั้นได้เคลื่อนย้ายออกห่างจากเส้นศูนย์สูตรของโลก โดยเฉลี่ยแล้วอยู่ท...


X