×

NASA

ยาน DART ของ NASA ขณะพุ่งชนดาวเคราะห์น้อย Dimorphos เพื่อทดสอบเทคนิคการเบี่ยงวิถีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อย
21 กุมภาพันธ์ 2025

รู้จักยาน DART: ซ้อมแผน ‘พิทักษ์โลก’ ด้วยการส่งยานอวกาศไปพุ่งชนดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อย 2024 YR4 เป็นหนึ่งในวัตถุบนท้องฟ้าที่นักดาราศาสตร์ทั่วโลกกำลังจับตามอง หลังพบว่าอาจมีความเสี่ยงพุ่งชนโลกมากถึง 3.1% ในช่วงปลายปี 2032   ด้วยขนาดใหญ่ประมาณ 55 เมตร ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้จะพุ่งชนโลกด้วยความเร็วประมาณ 17 กิโลเมตรต่อวินาที ที่ส่งผลให้เกิดความเสียหายในท้องที่นั้นๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นแผ่นดินไหวหรือสึนามิ ขึ้นอยู่กับต...
21 กุมภาพันธ์ 2025

อีลอน มัสก์ โพสต์ด่านักบินอวกาศ ‘โง่-สมองน้อย’ ตอบโต้เรื่องนักบินติดอยู่บนสถานีอวกาศ

อีลอน มัสก์ โพสต์ตอบโต้อดีตผู้บัญชาการสถานีอวกาศนานาชาติว่า ‘โง่’ และ ‘สมองน้อย’ หลังถูกตอบโต้เรื่อง 2 นักบินอวกาศ NASA ที่ ‘ติด’ อยู่บนสถานีอวกาศนานาชาติในปัจจุบัน   จุดเริ่มต้นของสถานการณ์ดังกล่าวมาจากวิดีโอที่ โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ และ อีลอน มัสก์ ได้ให้สัมภาษณ์ร่วมกันกับสื่อ Fox News เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ โดยมีช่วงหนึ...
ยาน Voyager
11 กุมภาพันธ์ 2025

ยาน Voyager ทำงานในอวกาศนาน 47 ปีได้อย่างไร? เปิดปัจจัยเบื้องหลังภารกิจที่ยาวนานที่สุดของ NASA

เมื่อต้นปี 2025 ยาน Voyager 1 ทำสถิติเป็นยานอวกาศลำแรกในประวัติศาสตร์ที่เดินทางไปไกลจากโลกมากกว่า 25,000 ล้านกิโลเมตร และยังสามารถเก็บข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์พร้อมกับติดต่อกลับยังโลกได้ตามปกติ   ยานอวกาศลำนี้ออกเดินทางจากโลกเมื่อวันที่ 5 กันยายน 1977 หรือประมาณ 48 ปีที่แล้ว ในสมัยที่โลกใบนี้ยังไม่รู้จักอินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยีต่างๆ ยังไม่ถ...
จานดาวเคราะห์ก่อนเกิด
6 กุมภาพันธ์ 2025

ESA เผยภาพ ‘จานดาวเคราะห์ก่อนเกิด’ แบบที่ไม่เคยเห็นได้มาก่อน จากกล้องเจมส์ เว็บบ์

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เผยภาพถ่าย ‘จานดาวเคราะห์ก่อนเกิด’ จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ พร้อมรายละเอียดที่ไม่เคยเห็นได้มาก่อน   ภาพดังกล่าวคือวัตถุ Herbig-Haro 30 ประกอบด้วยดาวฤกษ์อายุน้อยที่ห้อมล้อมไปด้วยฝุ่นก๊าซในจานดาวเคราะห์ก่อนเกิด หรือ Protoplanetary Disc ซึ่งอยู่ห่างจากโลกไป 477 ปีแสง ในเนบิวลามืด LDN 1551 และเป็นส่วนหนึ่...
NASA GISTDA
1 กุมภาพันธ์ 2025

ผลวิเคราะห์เบื้องต้น NASA-GISTDA ชี้ PM2.5 ภาคเหนือ ส่วนใหญ่เกิดจากการเผาชีวมวล

ทีมนักวิทยาศาสตร์จากสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA พร้อมด้วยองค์การ NASA และหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เผยแพร่ผลงานวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่ก่อให้เกิดมลพิษฝุ่นละออง PM2.5 ในประเทศไทย ระหว่างการประชุม ASIA-AQ Science Team ที่จัดขึ้น ณ ประเทศมาเลเซีย เมื่อวันที่ 20-24 มกราคมที่ผ่านมา   ผลการวิเคราะห์เบื้...
ดาวเคราะห์น้อย 2024 YR4
30 มกราคม 2025

NASA และ ESA ติดตามดาวเคราะห์น้อย 2024 YR4 มีโอกาสพุ่งชนโลกปลายปี 2032

สำนักงานพิทักษ์ดาวเคราะห์ของ NASA และ ESA กำลังติดตามข้อมูลของดาวเคราะห์น้อย 2024 YR4 ที่อาจสร้างความเสียหายในระดับท้องถิ่นได้ หากพุ่งชนโลกในช่วงปลายปี 2032   2024 YR4 ได้รับการค้นพบเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2024 โดยเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ ATLAS หรือ Asteroid Terrestrial-impact Last Alert System ซึ่งพบว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยขนาดระ...
apollo1-tragedy-57-years
27 มกราคม 2025

รำลึก 57 ปี โศกนาฏกรรม Apollo 1 ก้าวแรกสู่ดวงจันทร์ของ NASA ที่จบลงในเปลวเพลิง

“Per aspera ad astra” วลีภาษาละตินที่มีความหมายว่า ฝ่าผ่านความยากลำบากไปสู่ดวงดาว เป็นวลีและคติย้ำเตือนใจถึงความท้าทายในการพิชิตห้วงอวกาศ เพราะแม้ว่าจะมีผู้คนกว่า 600 ชีวิตที่เคยเดินทางไปนอกโลก แต่เส้นทางสู่ดวงดาวนั้นล้วนเต็มไปด้วยขวากหนาม และบางครั้งก็ต้องแลกมาด้วยความสูญเสีย   หนึ่งในความสูญเสียดังกล่าวเกิดขึ้นกับภารกิจแรกของโครงการ Ap...
27 มกราคม 2025

NASA เตรียมแถลงข่าวผลการศึกษาหินจากดาวเคราะห์น้อยเบนนู 29 มกราคมนี้

NASA เตรียมแถลงข่าววันที่ 29 มกราคมนี้ ถึงผลการศึกษาตัวอย่างหินจากดาวเคราะห์น้อยเบนนู ที่ยานอวกาศ OSIRIS-REx นำกลับมาสู่โลกเมื่อเดือนกันยายน 2023   ยาน OSIRIS-REx หรือชื่อเต็มว่า Origins, Spectral Interpretation, Resource Identification, and Security-Regolith Explorer เป็นภารกิจแรกของ NASA ที่เดินทางไปสำรวจดาวเคราะห์น้อยเบนนู ดาวเคราะห์น...
11 มกราคม 2025

นักบินอวกาศ NASA ถ่ายภาพเหตุไฟป่าลอสแอนเจลิส จากสถานีอวกาศนานาชาติ

วันที่ 10 มกราคม Donald Pettit นักบินอวกาศ NASA ที่กำลังปฏิบัติงานอยู่บนสถานีอวกาศนานาชาติ หรือ ISS เผยภาพเหตุไฟป่าลอสแอนเจลิส พร้อมส่งกำลังใจให้ผู้ได้รับผลกระทบทุกคน   สถานีอวกาศฯ โคจรรอบโลกที่ความสูงประมาณ 400 กิโลเมตรจากพื้นผิว โดยภาพดังกล่าวถูกบันทึกโดยกล้อง Nikon Z9 พร้อมเลนส์เทเลโฟโต้ ซึ่งไม่อาจเผยรายละเอียดได้คมชัดเหมือนกับภาพจากก...
ดาวอังคาร
4 มกราคม 2025

จับตา 12 มกราคม ดาวอังคารอยู่ในตำแหน่งใกล้โลกที่สุดตั้งแต่ปี 2022

วันที่ 12 มกราคม 2025 เวลา 20.38 น. (ตามเวลาประเทศไทย) ดาวอังคาร อยู่ในตำแหน่งใกล้โลกที่สุดนับตั้งแต่ปลายปี 2022 เป็นช่วงเวลาเหมาะสมที่สุดสำหรับการสังเกตด้วยตาเปล่า   เนื่องจากดาวอังคารและโลกต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะวงรีเล็กน้อย ทำให้มีช่วงเวลาที่ดาวเคราะห์ทั้งสองจะอยู่ใกล้กันและห่างกันที่สุดในแต่ละคาบการโคจร โดยปรากฏการณ์ดาวอังคารใก...


Close Advertising