×

NARIT

ดาวยูเรนัสบังดาวฤกษ์
20 พฤศจิกายน 2024

NARIT ใช้กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติสังเกตดาวยูเรนัสบังดาวฤกษ์ ร่วมกับหอดูดาวทั่วโลก

NARIT ใช้กล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาวแห่งชาติบนดอยอินทนนท์ ร่วมสังเกตดาวยูเรนัสบดบังดาวฤกษ์ ร่วมกับทีมวิจัยของ NASA และหอดูดาวนานาประเทศ   เช้ามืดวันที่ 13 พฤศจิกายนที่ผ่านมา นักดาราศาสตร์ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตรที่ติดตั้งอยู่ ณ หอดูดาวแห่งชาติ บนดอยอินทนนท์ จังหวั...
25 สิงหาคม 2024

NARIT เผยสุดยอด ‘นักสื่อสารดาราศาสตร์น้อย’ จากระดับประถมศึกษา

NARIT จัดแข่งขัน ‘นักสื่อสารดาราศาสตร์น้อย’ หรือ Little Star Contest ปีที่ 2 สร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชน กระตุ้นทักษะการสื่อสารวิทยาศาสตร์ และทำให้อวกาศเป็นเรื่องราวที่เข้าถึงได้โดยทุกกลุ่มคน   ในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT คัดเลือกผู้ผ่านเข้ารอบ 5 คนจากระดับประถมศึกษาตอนต้น และ 5 คนจากระดับประถมศึกษาตอ...
22 กรกฎาคม 2024

ชวนดูดินดวงจันทร์จากภารกิจฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว.แฟร์

ดินดวงจันทร์ จากภารกิจ ฉางเอ๋อ 5 เดินทางมาถึงนิทรรศการของ NARIT หรือ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ในงาน อว.แฟร์: SCI POWER FOR FUTURE THAILAND   ตัวอย่างดินดวงจันทร์จากบริเวณภูเขา Mons Rümker ของด้านใกล้ดวงจันทร์ ถูกนำกลับโลกเมื่อเดือนธันวาคม 2020 และเป็นดินชุดแรกที่ประเทศจีนนำกลับโลกได้สำเร็จ   ดินดวงจันทร์จากภารกิจฉางเอ๋อ 5...
หินจากดวงจันทร์
10 กรกฎาคม 2024

NARIT นำหินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 มาจัดแสดงในไทยเป็นครั้งแรก

ตัวอย่างหินจากดวงจันทร์ชุดแรกของจีนที่ยานอวกาศฉางเอ๋อ 5 นำกลับโลกเมื่อเดือนธันวาคม 2020 จะนำมาจัดแสดงนอกประเทศจีนเป็นครั้งแรกระหว่างวันที่ 22-28 กรกฎาคมนี้ ในงาน อว.แฟร์ : SCI POWER FOR FUTURE THAILAND   NARIT หรือสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ร่วมกับ CNSA หรือองค์การบริหารอวกาศแห่งชาติจีน นำหินดวงจันทร์จากบริเวณ Mons Rümker ของด้านใกล้ด...
9 กรกฎาคม 2024

เด็กไทยวิจัยไกลถึงดวงดาว: ชวนดูโครงงานดาราศาสตร์ของเยาวชนไทย ในงาน TACs 2024

อวกาศอาจเป็นเรื่องห่างไกล และดูเกินเอื้อมคว้าไปถึงดาว แต่ไม่ใช่สำหรับเยาวชนหลายคน ที่แม้เท้าของพวกเขายังอยู่บนพื้นโลก แต่ดวงตาและความคิดพวกเขาได้แหงนมองไปยังเทหวัตถุบนฟ้าสุดแสนไกล   เมื่อวันที่ 29-30 มิถุนายนที่ผ่านมา THE STANDARD ได้ร่วมสังเกตการณ์งานประชุมวิชาการดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย (สำหรับเยาวชน) ครั้งที่ 10 หรืองาน TACs 2024 จัดโด...
วันครีษมายัน
21 มิถุนายน 2024

วันนี้ ‘วันครีษมายัน’ กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยแพร่ข้อมูลว่า วันนี้ (21 มิถุนายน) เป็น ‘วันครีษมายัน’ (Summer Solstice) ซึ่งช่วงเวลากลางวันยาวที่สุดในรอบปี ดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด นับเป็นวันที่ประเทศทาง...
15 มิถุนายน 2024

มนุษย์เคยติดต่อกับชีวิตนอกโลกหรือยัง? นักดาราศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญให้คำตอบในงาน ‘The Search for E.T.’

ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ ข่าวเกี่ยวกับชีวิตนอกโลกได้รับความสนใจอย่างยิ่ง ไม่ว่าจะเป็นการตรวจพบดาวเคราะห์คล้ายโลกในระบบดาวอื่น หรือการที่หน่วยงานอย่าง NASA เริ่มการศึกษา UAP หรือ UFO อย่างจริงจัง   แต่คำถามสำคัญคือ มนุษย์เคยพบหลักฐานที่ชัดเจนของชีวิตต่างดาว หรือเคยติดต่อกับเอเลี่ยนที่ทรงภูมิได้หรือยัง?   เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน สถาบ...
11 พฤษภาคม 2024

พายุสุริยะใหญ่ที่สุดในรอบ 20 ปี เยือนโลกสัปดาห์นี้ NARIT เผย ผู้ที่อาศัยในละติจูดสูงอาจเห็นแสงออโรราได้

วันนี้ (11 พฤษภาคม) เพจเฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) ได้โพสต์แจ้งเตือนพายุสุริยะจะมาเยือนโลกสุดสัปดาห์นี้ โดยระบุว่า แจ้งเตือน พายุสุริยะที่ใหญ่ที่สุดในรอบ 20 ปีจะมาเยือนโลกสุดสัปดาห์นี้ แต่ไม่เป็นอันตราย ผู้สังเกตในละติจูดสูงเตรียมพบกับออโรรา   National Oceanic and Atmospheric Administration: NOAA ซึ่งเป็นหน่วยงานขอ...
9 เมษายน 2024

ชมภาพสุริยุปราคาเต็มดวงแถบอเมริกาเหนือ NARIT คาด คนไทยได้ชมเดือนสิงหาคม 2027

ผู้คนจำนวนมากในแถบทวีปอเมริกาเหนือตั้งตารอชมปรากฏการณ์ ‘สุริยุปราคาเต็มดวง’ (Total Solar Eclipse) เมื่อวานนี้ (8 เมษายน) ซึ่งไม่สามารถสังเกตเห็นได้จากประเทศไทย    สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NARIT ระบุว่า แนวคราสเต็มดวงได้พาดผ่านบริเวณทวีปอเมริกาเหนือ บริเวณประเทศเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา และแคนาดา เริ่มจากมหาสมุทร...
27 มีนาคม 2024

EXCLUSIVE: เครื่องบิน NASA มาทำอะไรในไทย? ไขข้อสงสัยกับทีมวิจัยบนเครื่องบิน DC-8

ในช่วงกลางเดือนมีนาคม เครื่องบิน Douglas DC-8 ที่ถูกขนานนามเป็น ‘ห้องปฏิบัติการลอยฟ้า’ ของ NASA ได้ขึ้นบินสำรวจเหนือพื้นที่ต่างๆ ในน่านฟ้าไทย เช่นกันกับการทำ Missed Approach โฉบลงต่ำเหนือรันเวย์สนามบิน ก่อนเดินเครื่องไต่ระดับความสูงกลับขึ้นไปอีกครั้ง   เนื่องจากเครื่องบิน DC-8 ลำนี้ได้รับการดัดแปลงเป็นอย่างมาก เพื่อให้สามารถติดตั้งอุปกรณ...


Close Advertising
X