×

Myanmar

นักวิชาการชี้ ความสัมพันธ์รัสเซีย-เมียนมาแน่นแฟ้นขึ้น หากถูกประชาคมโลกโดดเดี่ยว
28 มีนาคม 2022

นักวิชาการชี้ ความสัมพันธ์รัสเซีย-เมียนมาแน่นแฟ้นขึ้น หากถูกประชาคมโลกโดดเดี่ยว

วานนี้ (27 มีนาคม) นักวิชาการชี้ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศรัสเซียและเมียนมาจะแน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น หากถูกโดดเดี่ยวและคว่ำบาตรจากประชาคมโลก จากทั้งกรณีทำสงครามรุกรานยูเครนและกองทัพเมียนมาก่อรัฐประหาร โดยรัสเซียถือเป็นประเทศที่สำคัญมากต่อกองทัพเมียนมา ในฐานะแหล่งผู้จัดซื้อจัดหาอาวุธให้กับเมียนมา ซึ่งอาวุธเหล่านั้นได้รับการอวดโฉมในพิธีสวนสนามประจำปีของก...
Paing Takhon
2 มีนาคม 2022

ปล่อยตัว ‘ไป่ ทาคน’ นายแบบ-นักแสดงชื่อดังชาวเมียนมาผู้ต่อต้านรัฐประหาร พร้อมผู้มีชื่อเสียงรายอื่น

วันนี้ (2 มีนาคม)​ สำนักข่าว AFP รายงานว่า ทีมกฎหมายของ ไป่ ทาคน นักแสดง นักร้อง และนายแบบชื่อดังชาวเมียนมา ซึ่งถูกจำคุกฐานสนับสนุนการประท้วงเพื่อประชาธิปไตย ระบุว่าเขาได้รับการอภัยโทษและปล่อยตัวแล้ว   ไป่ ซึ่งมีชื่อเสียงทั้งในเมียนมาและเพื่อนบ้านอย่างไทย มีส่วนร่วมในการประท้วงครั้งใหญ่หลังรัฐประหารเมื่อปีที่แล้ว โดยเป็นผู้นำการชุมนุม รว...
Rohingya
21 กุมภาพันธ์ 2022

ศาลโลกเริ่มพิจารณาคำร้องคัดค้านเบื้องต้นของเมียนมา กรณีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวโรฮีนจา

วันนี้ (21 กุมภาพันธ์) สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) หรือ ศาลโลก ในเนเธอร์แลนด์ เริ่มต้นพิจารณาคำร้องคัดค้านเบื้องต้นของเมียนมา กรณีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวโรฮีนจาซึ่งเป็นชาวมุสลิม เมื่อปี 2017 เป็นเหตุให้เกิดการไหลทะลักของผู้ลี้ภัยครั้งใหญ่ โดยรัฐประหารในเมียนมาส่งผลให้สถานการณ์มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น   โดยแกม...
Sok Sokrethya
14 กุมภาพันธ์ 2022

คุยกับ ‘ที่ปรึกษาฮุนเซน’ ปมเยือนเมียนมา สัมพันธ์ทักษิณถึงประยุทธ์ และคนรุ่นใหม่กัมพูชา

THE STANDARD ได้รับเกียรติพูดคุยกับ ดร.ซก กรัดทะยา (H.E. Dr.Sok Sokrethya) ที่ปรึกษาส่วนตัวของนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ที่ได้เดินทางเข้าพบผู้นำทางการเมืองทุกฟากฝ่าย ตั้งแต่ สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ ขณะเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เพื่อพูดคุยหารือแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับเกี่ยวกับก...
PTTEP
11 กุมภาพันธ์ 2022

PTTEP เล็งซื้อหุ้น 59% ในแหล่งก๊าซยาดานาของเมียนมา หลัง TotalEnergies และ Chevron จะถอนทุน เพื่อประท้วงรัฐบาลทหารที่ใช้ความรุนแรงต่อประชาชน

สำนักข่าว Bloomberg รายงานว่า บมจ.ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม (PTTEP) กำลังประมูลเพื่อเข้าควบคุมแหล่งก๊าซยาดานาของเมียนมา หลังจาก TotalEnergies และ Chevron จะถอนทุนออกจากประเทศ เพื่อประท้วงรัฐบาลทหารที่ยังคงใช้ความรุนแรงต่อพลเรือนนับตั้งแต่เกิดรัฐประหาร   ซอ มิน ทุน โฆษกสภาบริหารแห่งรัฐ เปิดเผยว่า บริษัท PTT Exploration and Production Pcl...
รัฐบาลทหารเมียนมาขออินเตอร์โพล ช่วยต่อสู้กลุ่มต่อต้านนอกประเทศ อ้างเป็นกลุ่มก่อการร้ายที่สังหารคนบริสุทธิ์
10 กุมภาพันธ์ 2022

รัฐบาลทหารเมียนมาขออินเตอร์โพล ช่วยต่อสู้กลุ่มต่อต้านนอกประเทศ อ้างเป็นกลุ่มก่อการร้ายที่สังหารคนบริสุทธิ์

องค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ หรืออินเตอร์โพล (International Criminal Police Organization: Interpol) ออกแถลงการณ์ในวันนี้ (10 กุมภาพันธ์) ยืนยันว่าจะไม่ให้ความช่วยเหลือประเทศใดก็ตามที่กำลังเผชิญสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองในประเทศ โดยเป็นการแสดงท่าทีหลังจากที่รัฐบาลทหารเมียนมาออกแถลงการณ์ขอความช่วยเหลือจากอินเตอร์โพลในการต่อสู้กับ ‘การก่อ...
รัฐประหารเมียนมา
4 กุมภาพันธ์ 2022

ชมคลิป: 1 ปี รัฐประหารเมียนมา กับความหวังที่ยังไม่มอดดับ

นี่คือภาพรวม 1 ปี รัฐประหารในเมียนมา นับตั้งแต่ที่ พล.อ.อาวุโส มิน อ่อง หล่าย ตัดสินใจนำกองทัพเมียนมาก่อรัฐประหารยึดอำนาจรัฐบาลพลเรือนที่มาจากการเลือกตั้ง ภายใต้การนำของออง ซาน ซูจี และพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD) เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2021 จนหลายฝ่ายกังวลใจว่าความขัดแย้งและความร่นถอยในมิติต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากรัฐประหาร อาจทำให้เมีย...
คว่ำบาตร
3 กุมภาพันธ์ 2022

สหรัฐฯ ยังคงเดินหน้าคว่ำบาตร-ขึ้นแบล็กลิสต์ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการก่อรัฐประหารในเมียนมาเมื่อปี 2021

วานนี้ (2 กุมภาพันธ์) ทางการสหรัฐอเมริกา รวมถึงชาติพันธมิตรอย่างสหราชอาณาจักรและแคนาดา ยังคงเดินหน้าดำเนินมาตรการคว่ำบาตรและขึ้นแบล็กลิสต์บรรดาผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการก่อรัฐประหารในเมียนมาเมื่อปี 2021 ที่ผ่านมา โดยการคว่ำบาตรครั้งล่าสุด มุ่งเป้าไปที่เจ้าหน้าที่ตุลาการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพิจารณาคดีของ ออง ซาน ซูจี ที่ปรึกษาประเทศเมียนมาและผู้...
2 กุมภาพันธ์ 2022

เสวนา ‘1 ปีหลังรัฐประหารพม่า’ เสียงแตก ปมผู้อพยพจากพม่า ภาระของไทยหรือโอกาสด้านแรงงาน

วานนี้ (1 กุมภาพันธ์) ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มีการเสวนาวิชาการ ‘1 ปีหลังรัฐประหารพม่า’ ณ ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ถ่ายทอดสดผ่านแฟนเพจ PBIC Thammasat จัดโดยวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการย้ายถิ่นและการพัฒนา (ARCM-CE) สถาบันเอเชียศึกษา...
2 กุมภาพันธ์ 2022

ไทย-พม่า ความเหมือนที่แตกต่าง ‘ชาญวิทย์’ ชี้ วิธีคิดแบบรัฐข้าราชการไม่น่าพิศมัย ต้องการจินตนาการใหม่แก้ปัญหาสงครามกลางเมือง

วานนี้ (1 กุมภาพันธ์) ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มีการเสวนาวิชาการ ‘1 ปีหลังรัฐประหารพม่า’ ณ ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ถ่ายทอดสดผ่านแฟนเพจ PBIC Thammasat จัดโดยวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการย้ายถิ่นและการพัฒนา (ARCM-CE) สถาบันเอเชียศึกษา...


Close Advertising
X