×

โรฮีนจา

10 กันยายน 2020

ทหารหนีทัพเมียนมา รับสารภาพสังหารหมู่-ข่มขืน ชาวโรฮีนจา

องค์กรสิทธิมนุษยชน Fortify Rights เผยแพร่คลิปวิดีโอ 2 คลิป ของพลทหาร เมียว วิน ทัน และพลทหาร ซอว์ เนียง ทัน 2 ทหารหนีทัพเมียนมา ที่บันทึกไว้โดยกองทัพยะไข่เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา โดยทั้งสองรับสารภาพว่าได้รับคำสั่งให้เข้าร่วมในการสังหารหมู่ และข่มขืนชาวมุสลิมโรฮีนจาได้ตามใจชอบในปี 2017    กลุ่ม Fortify Rights ยืนยันว่าได้วิเคราะห์ค...
ออง ซาน ซูจี ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โรฮีนจา
12 ธันวาคม 2019

ออง ซาน ซูจี ขึ้นศาลโลก ชี้แจงคดีกองทัพเมียนมาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โรฮีนจา

ออง ซาน ซูจี ที่ปรึกษาแห่งรัฐเมียนมา ขึ้นให้การต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ เป็นวันที่ 2 ของการไต่สวนในคดีที่แกมเบียยื่นฟ้องเมียนมา ข้อกล่าวหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวโรฮีนจา จากเหตุการณ์ที่ทหารกวาดล้างชนกลุ่มน้อยในรัฐยะไข่เมื่อปี 2017...
11 ธันวาคม 2019

ออง ซาน ซูจี นำทีมกฎหมายเมียนมาขึ้นศาลโลก คดีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โรฮีนจา

ออง ซาน ซูจี ที่ปรึกษาแห่งรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของเมียนมา เดินทางไปยังศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) หรือศาลโลก ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ วานนี้ (10 ธันวาคม) เพื่อทำหน้าที่ผู้นำทีมกฎหมายต่อสู้คดีที่เมียนมาถูกกล่าวหาว่าฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชนกลุ่มน้อยชาวมุสลิมโรฮีนจา คดีนี้เกิดขึ้นหลังแกมเบีย ประเทศเล็กๆ ในแอฟริกาตะวันตก ซึ่งปร...
ออง ซาน ซูจี
21 พฤศจิกายน 2019

‘ซูจี’ เตรียมนำทีมกฎหมายเมียนมาขึ้นศาลโลก สู้คดีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โรฮีนจา

รัฐบาลเมียนมา เปิดเผยในวันนี้ (21 พฤศจิกายน) ว่า ออง ซาน ซูจี ที่ปรึกษาแห่งรัฐของเมียนมา ตัดสินใจเป็นผู้นำทีมกฎหมายขึ้นให้การต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือศาลโลกของสหประชาชาติ ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในคดีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชนกลุ่มน้อยชาวมุสลิมโรฮีนจา เมื่อ 2 ปีที่ผ่านมา    หลังรัฐบาลแกมเบีย ในฐานะตัวแทนองค์การความร่วมมืออิสลา...
โรฮีนจา
4 พฤศจิกายน 2019

เลขาฯ UN กังวลเรื่องชาวโรฮีนจา เรียกร้องให้รัฐบาลเมียนมาประกันความปลอดภัย

เมื่อวานที่ผ่านมา (3 พฤศจิกายน) พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมสุดยอดอาเซียน-สหประชาชาติ ครั้งที่ 10 ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 35 และการประชุมที่เกี่ยวข้อง โดยที่ประชุมรับทราบความคืบหน้าของการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ 5 ปี เพื่อดำเนินการตามปฏิญญาร่วมว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ระหว่างอาเซียนกับสหประชาช...
มนัส คงแป้น
1 พฤศจิกายน 2019

ศาลอุทธรณ์เพิ่มโทษ พล.ท. มนัส จำคุก 82 ปี จาก 27 ปี คดีค้ามนุษย์โรฮีนจา ยกฟ้อง 26 ราย

เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก นัดฟังคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีค้ามนุษย์โรฮีนจาชาวบังกลาเทศและเมียนมา พนักงานอัยการและต่างด้าวผู้เสียหายบางรายเป็นโจทก์ยื่นฟ้อง บรรจง หรือโกจง ปองผล อดีตนายกเทศมนตรีเมืองปาดังเบซาร์ จังหวัดสงขลา จำเลยที่ 1 พล.ท. มนัส คงแป้น อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก และเจ้าหน้าที่รัฐประกอบด้วย ทหาร-ตำรวจ, ผู้บริหารการเม...
31 ตุลาคม 2019

เตรียมอ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ เบิกตัว พล.ท. มนัส และพวก คดีค้ามนุษย์โรฮีนจา หลังชั้นต้นจำคุก 4-94 ปี

เช้าวันนี้ (31 ตุลาคม) ศาลอาญานัดฟังคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีค้ามนุษย์ ที่พนักงานอัยการคดีค้ามนุษย์ 1 เป็นโจทก์ฟ้อง พล.ท. มนัส คงแป้น อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก กับพวกรวม 103 คน ร่วมกันเป็นจำเลยในความผิดฐานร่วมกันค้ามนุษย์ (โรฮีนจา) ที่ห้อง 704 ศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก   คดีนี้ศาลอาญาสั่งจำคุก พล.ท. มนัส รวม 27 ปี โดยวันนี้ได้เบิกตัว พล.ท....
บังกลาเทศแบนการใช้มือถือ
5 กันยายน 2019

บังกลาเทศแบนการใช้มือถือในค่ายผู้ลี้ภัย หวังลดปัญหาการก่ออาชญากรรมของชาวโรฮีนจา

รัฐบาลบังกลาเทศเปิดเผยว่าขณะนี้ทางการมีคำสั่งให้บริษัทที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการสื่อสารยุติการจำหน่ายซิมโทรศัพท์มือถือให้กับชาวโรฮีนจาในค่ายผู้ลี้ภัย รวมถึงตัดสัญญาณโทรศัพท์มือถือและเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อหวังลดปัญหาการก่ออาชญากรรมของชาวโรฮีนจา โดยเฉพาะการลักลอบค้ายาเสพติดจากเมียนมา    มาตรการดังกล่าวเป็นไปเพื่อความมั่นคงภายในป...
17 กรกฎาคม 2019

สหรัฐฯ ประกาศแบนนายทหารระดับสูงของเมียนมาที่เกี่ยวข้องกับเหตุกวาดล้างชาวโรฮีนจา

เมื่อวานนี้ (16 ก.ค.) รัฐบาลสหรัฐฯ ประกาศแบน Min Aung Hlaing และ Soe Win สองนายพลระดับสูงของกองทัพเมียนมา รวมถึงครอบครัวของพวกเขาทุกคนเดินทางเข้าสหรัฐฯ หลังจากมีหลักฐานบ่งชี้ว่าพวกเขามีส่วนเกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ใช้ความรุนแรงต่อชาวโรฮีนจาภายในรัฐยะไข่ จนบานปลายกลายเป็นวิกฤตการณ์ด้านผู้ลี้ภัยครั้งสำคัญของโลก   กองทัพเมียนมาเริ...
18 มิถุนายน 2019

สหประชาชาติยอมรับ องค์กรล้มเหลวอย่างเป็นระบบ กรณีวิกฤตโรฮีนจาในเมียนมา

จากรายงานล่าสุดภายในสหประชาชาติ (UN) ที่จัดทำโดย เกิร์ต โรเซนธัล อดีตรัฐมนตรีการต่างประเทศของกัวเตมาลา และทูตประจำสหประชาชาติ ที่ได้รับการแต่งตั้งโดยอันโตนิโอ กูเตอร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ โดยได้ศึกษาบทบาทของสหประชาชาติในเมียนมา ช่วงปี 2010-2018 พบว่า ยังคงมีช่องโหว่อยู่มาก   โรเซนธัลระบุว่า องค์กรขาดการรวบรวมยุทธศาสตร์ต่างๆ ที่เตรียม...


Close Advertising