×

เศรษฐกิจ

มาตรการลดค่าครองชีพ
19 ตุลาคม 2021

ครม. ไฟเขียว เพิ่มวงเงิน 4 มาตรการลดค่าครองชีพ-กระตุ้นกำลังซื้อ อีก 5.4 หมื่นล้าน

ธนกร วังบุญคงชนะ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันนี้ (19 ตุลาคม) มีมติเห็นชอบผลอนุมัติงบประมาณวงเงินรวม 54,506 ล้านบาท สำหรับ 4 โครงการเพื่อส่งเสริม มาตรการลดค่าครองชีพ ซึ่งเสนอโดยกระทรวงการคลัง ดังนี้   อนุมัติ งบ 8,122 ล้านบาท สำหรับโครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการรัฐระยะที่ 3 โดยเพิ...
KBTG
18 ตุลาคม 2021

‘กระทิง’ ทำนายอนาคตการเงินโลก ยกเครื่องครั้งใหญ่หลังปี 2030 ระบบเศรษฐกิจจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป

KBTG ชี้ โลกการเงินหลังโควิดจะเห็นการดิสรัปท์ต่อเนื่อง 10 ปี ก่อนจะพลิกโฉมระบบเศรษฐกิจและการเงินแบบไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป ระบุเป็นยุคทองของระบบการเงินโลก สร้างโอกาสมหาศาล เชื่อแบงก์ที่อยู่รอดได้ต้องมีสเกลและสปีดเท่านั้น ระบุแบงก์ไม่หายไปแต่จะแฝงอยู่ในทุกอีโคซิสเต็มของชีวิตลูกค้า   กระทิง-เรืองโรจน์ พูนผล ประธานกลุ่มบริษัท กสิกร บิซิเนส-เท...
การเงิน
18 ตุลาคม 2021

ธปท. มองเศรษฐกิจพ้นจุดต่ำสุดแล้ว ชี้ไทยยังมีขีดความสามารถทางการเงินการคลังดูแลเสถียรภาพจากปัจจัยลบต่างๆ ได้

ปิติ ดิษยทัต ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวในงานประชุมนักวิเคราะห์ (Analyst Meeting) ว่า ธปท. ประเมินว่าเศรษฐกิจไทยได้ผ่านจุดต่ำสุดแล้วในไตรมาส 3 ปี 2564 และมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่องในระยะข้างหน้า    โดยปัจจัยสนับสนุนสำคัญคือการฟื้นตัวของอุปสงค์ที่เลื่อนมาจากช่วงก่อนหน้า (Pent Up Demand) ในช่วงที่...
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ
18 ตุลาคม 2021

‘อาคม’ ชี้ไทยต้องปฏิรูปโครงสร้างจัดเก็บรายได้ เพื่อตุนทรัพยากรเสริมภูมิคุ้มกันเศรษฐกิจรองรับอนาคต

อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวปาฐกถาพิเศษหัวข้อ ‘นโยบายเศรษฐกิจจาก Pandemic สู่ Endemic’ ว่า ในภาวะวิกฤต นโยบายการเงินและนโยบายการคลังต้องทำหน้าที่สอดประสานกัน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจใน 3 ระดับ คือ    ภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจระดับมหภาค ซึ่งถือเป็นบทบาทโดยตรงของทั้งนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง &n...
จัดพอร์ตลงทุน
17 ตุลาคม 2021

จัดพอร์ตลงทุน ‘โค้งสุดท้าย’ ท่ามกลางจุดเปลี่ยนด้านนโยบายการเงินทั่วโลก

เข้าสู่ช่วงต้นไตรมาส 4 ของปีนี้แล้ว ราคาสินทรัพย์ประเภทต่างๆ เคลื่อนไหวอย่างผันผวนมาตลอด 9 เดือนที่ผ่านมา ส่วนแนวโน้มไตรมาส 4 ผู้เชี่ยวชาญด้านการลงทุนมองว่า จะเป็นไตรมาสที่ต้องลงทุนอย่างระมัดระวังสูงขึ้น เนื่องจากสินทรัพย์ประเภทต่างๆ จะได้รับแรงกดดันจากปัจจัยทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะปัจจัยจากนโยบายการเงินและการคลังของประเทศเศรษฐกิจสำคัญ เช่น สหรัฐ ยุโรป...
15 ตุลาคม 2021

ชมคลิป: แบงก์ชาติอังกฤษเตือน คริปโตฯ อาจจุดชนวนเศรษฐกิจล่ม ซ้ำรอยวิกฤตการเงินปี 2008

ธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) ออกโรงเตือนว่า คริปโตเคอร์เรนซีอาจเป็นชนวนทำให้เกิดวิกฤตการเงินโลกซ้ำรอยปี 2008 ประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน ของรัสเซียเผย ยังเร็วเกินไปที่จะตัดสินใจใช้คริปโตเคอร์เรนซีซื้อขายน้ำมัน   ติดตาม รายการ Morning Wealth ทุกวัน จันทร์ – ศุกร์ เวลา 7.00-8.00 น. ทาง Facebook และ YouTube ของ THE STANDARD WEALTH   ...
Bank of England
15 ตุลาคม 2021

ธนาคารแห่งประเทศอังกฤษออกโรงเตือน มูลค่าของตลาดคริปโตฯ ที่เพิ่มขึ้นอาจนำไปสู่ความเสี่ยงทางเศรษฐกิจ เพราะมากกว่า ‘หนี้ซับไพรม์’ ถึง 2 เท่าตัวแล้ว

การเติบโตของมูลค่าคริปโตฯ จาก 1.6 หมื่นล้านดอลลาร์ หรือราว 4.8 แสนล้านบาท ในช่วง 5 ปีก่อน ขึ้นมาแตะระดับ 2.3 ล้านล้านดอลลาร์ หรือราว 70 ล้านล้านบาทในปัจจุบันได้สำเร็จ ซึ่งในทางหนึ่งได้กลายเป็นความเสี่ยงที่คาดไม่ถึง   มูลค่าที่เพิ่มขึ้นทำให้ธนาคารแห่งประเทศอังกฤษ (Bank of England) ออกโรงเตือนว่า ประเด็นดังกล่าวอาจนำไปสู่ความเสี่ยงทางเศรษฐ...
14 ตุลาคม 2021

ชมคลิป: วิกฤตพลังงาน ความเสี่ยงเศรษฐกิจโลก กระทบไทยแค่ไหน?

วิกฤตพลังงานที่ทั่วโลกกำลังเผชิญอยู่จะเพิ่มความเสี่ยงให้กับเศรษฐกิจโลกมากน้อยแค่ไหน รวมถึงจะกระทบกับไทยอย่างไร พูดคุยกับ ดร.ยรรยง ไทยเจริญ รองผู้จัดการใหญ่อาวุโส ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มงาน Economic Intelligence Center ธนาคารไทยพาณิชย์   ติดตาม รายการ Morning Wealth ทุกวัน จันทร์ – ศุกร์ เวลา 7.00-8.00 น. ทาง Facebook และ YouTube ...
IMF
14 ตุลาคม 2021

IMF หวั่นปัญหาคอขวดซัพพลายเชนดันเงินเฟ้อพุ่ง ทำเศรษฐกิจโลกฟื้นตัวสะดุด

สถานีโทรทัศน์ Channel NewsAsia ของสิงคโปร์ รายงานการประชุมของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) กับกลุ่มประเทศเศรษฐกิจชั้นนำ 20 ประเทศ (G20) ซึ่งประเด็นที่ประชุมให้ความสนใจ พร้อมเตือนให้เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดคือปัญหา ‘คอขวด’ ในระบบห่วงโซ่อุปทานหรือซัพพลายเชน ที่กำลังเกิดขึ้นในหลายพื้นที่ทั่วโลก จนทำให้กระบวนการผลิตของโรงงานเอกชนหลายแห่งไม่สามารถเดินหน...


Close Advertising
X