×

องค์การอวกาศยุโรป (ESA)

23 พฤศจิกายน 2024

ESA เปิดภาพผิวดวงอาทิตย์คมชัดที่สุดจากยาน Solar Orbiter

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เผยภาพผิวดวงอาทิตย์ที่มีความคมชัดสูงสุดจากยานอวกาศ Solar Orbiter ที่กำลังทำภารกิจสำรวจดาวฤกษ์หนึ่งเดียวในระบบสุริยะ   แม้ดวงอาทิตย์จะไม่มีพื้นผิวที่แท้จริงเนื่องจากประกอบด้วยแก๊สทั้งดวง แต่ชั้นบรรยากาศชื่อ ‘โฟโตสเฟียร์’ (Photosphere) เป็นชั้นที่ส่องสว่างมากที่สุด และแสงดวงอาทิตย์ที่เรามองเห็นจากโลกโดยส่วนมากคือ...
ภาพถ่าย จักรวาล
16 ตุลาคม 2024

ESA เปิดภาพจักรวาลมุมกว้าง เผยรายละเอียดดาวฤกษ์และกาแล็กซีมากกว่า 100 ล้านแห่ง

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เผยภาพถ่ายมุมกว้างของจักรวาลขนาด 208,000 ล้านพิกเซล จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศ Euclid แสดงให้เห็นรายละเอียดของดาวฤกษ์และกาแล็กซีมากกว่า 100 ล้านแห่ง   ภาพถ่ายดังกล่าวรวมขึ้นจากการสำรวจมากกว่า 260 ครั้ง ในช่วงคลื่นที่ตามองเห็นและอินฟราเรด ระหว่างวันที่ 25 มีนาคม - 8 เมษายน โดยภาพชุดจากกล้อง Euclid ที่เผยแพร่ในครั้งน...
Westerlund 1
10 ตุลาคม 2024

ESA เผยภาพซูเปอร์กระจุกดาว Westerlund 1 จากกล้องเจมส์ เว็บบ์

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เผยภาพถ่ายกระจุกดาว Westerlund 1 ที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์น้อยใหญ่อยู่ใกล้กันอย่างหนาแน่น จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   กระจุกดาวดังกล่าวอยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 12,000 ปีแสง พบครั้งแรกโดยนักดาราศาสตร์ชาวสวีเดนชื่อ Bengt Westerlund ในปี 1961 และกลายเป็นเป้าหมายที่ได้รับความสนใจจากนักดาราศาสตร์ทั่วโลก เพื่อศึกษา...
8 ตุลาคม 2024

ยุโรปส่งยาน Hera ไปสำรวจดาวเคราะห์น้อย หลังถูกยานอวกาศของ NASA พุ่งชน

วันที่ 7 ตุลาคม เวลา 21.52 น. จรวด Falcon 9 ของ SpaceX ประสบความสำเร็จในการนำส่งยาน Hera ขององค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA ออกเดินทางไปศึกษาผลกระทบที่เกิดกับดาวเคราะห์น้อย หลังถูกยานอวกาศของ NASA พุ่งชน   ภารกิจของยานอวกาศ Hera คือการศึกษาระบบดาวเคราะห์น้อย Didymos และดวงจันทร์บริวาร Dimorphos ที่ถูกยานอวกาศ DART (Double Asteroid Redirection...
ดาวพุธ
7 กันยายน 2024

ESA เผยภาพถ่ายล่าสุดของดาวพุธจากยานสำรวจ BepiColombo

ยานอวกาศ BepiColombo ขององค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA ประสบความสำเร็จในการบินผ่าน ดาวพุธ เป็นครั้งที่ 4 พร้อมเผยภาพถ่ายสุดคมชัดของดาวเคราะห์ที่โคจรใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด   วันที่ 5 กันยายน เวลา 04.48 น. ตามเวลาประเทศไทย ยาน BepiColombo ได้บินเฉียดผ่านดาวพุธที่ความสูง 165 กิโลเมตรจากพื้นผิว เพื่ออาศัยแรงโน้มถ่วงของดาวช่วยปรับทิศให้ยานอวกาศเข้า...
18 สิงหาคม 2024

จับตายานสำรวจดาวพฤหัสบดี JUICE กลับมาบินผ่านโลก เช้าวันที่ 21 สิงหาคม

เช้ามืดวันที่ 21 สิงหาคม ยาน JUICE ที่มีภารกิจมุ่งหน้าไปสำรวจดาวพฤหัสบดีกำลังเดินทางกลับมาบินผ่านโลก อาจมองเห็นได้จากประเทศไทย   ยานอวกาศ JUICE หรือ Jupiter Icy Moons Explorer ขององค์การอวกาศยุโรป (ESA) ออกเดินทางจากโลกเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2023 และมีกำหนดเดินทางไปถึงระบบดาวพฤหัสบดีในเดือนกรกฎาคม 2031   เหตุผลที่ยาน JUICE ใช้เ...
Ariane 6
13 กรกฎาคม 2024

องค์การอวกาศยุโรป ส่งจรวด Ariane 6 ขึ้นบินเป็นครั้งแรก

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA นำส่งจรวด Ariane 6 ขึ้นบินสู่วงโคจรเป็นครั้งแรก เมื่อเวลา 02.00 น. ของเช้ามืดวันที่ 10 กรกฎาคม ตามเวลาประเทศไทย   ภารกิจ VA262 หรือเที่ยวบินแรกของ Ariane 6 ทะยานขึ้นจากท่าอวกาศยานในศูนย์อวกาศเฟรนช์เกียนา จังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ โดยมีเป้าหมายเป็นการสาธิตความสามารถของ...
31 พฤษภาคม 2024

SpaceX ส่งดาวเทียม EarthCARE ของยุโรป ขึ้นทำภารกิจสำรวจโลก

SpaceX นำส่งดาวเทียม EarthCARE ขององค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เดินทางขึ้นสู่วงโคจร เริ่มภารกิจศึกษาเมฆและละอองลอยในบรรยากาศโลก   เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม เวลา 05.20 น. ตามเวลาประเทศไทย จรวด Falcon 9 บูสเตอร์หมายเลข B1081 เดินทางขึ้นจากฐานปล่อย SLC-4E ฐานทัพอวกาศแวนเดนเบิร์ก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เพื่อนำดาวเทียม EarthCARE หรือย่อมาจาก...
กล้องถ่ายภาพสำหรับนักบินอวกาศ
28 ตุลาคม 2023

ESA เริ่มทดสอบกล้องถ่ายภาพรุ่นใหม่ สำหรับนักบินอวกาศบนดวงจันทร์

หนึ่งในสิ่งสำคัญสำหรับภารกิจการสำรวจดวงจันทร์ คือการถ่ายภาพสำรวจจากบริเวณพื้นผิว เพื่อประโยชน์ในการศึกษาสภาพธรณีวิทยา คุณสมบัติต่างๆ ของพื้นดินบริวารหนึ่งเดียวของโลก   ล่าสุดทีมนักบินอวกาศและวิศวกรขององค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA ได้ร่วมกับทีมของ NASA เพื่อพัฒนากล้องถ่ายภาพสำหรับใช้งานบนดวงจันทร์ ภายใต้ชื่อว่า HULC หรือ Handheld Universal L...
รูโหว่โอโซน
9 ตุลาคม 2023

รูโหว่โอโซนขยายขึ้นจนใหญ่กว่าขนาดประเทศ​บราซิล​ถึง 3 เท่า

16 กันยายนของทุกปี ถือเป็น ‘วันโอโซนโลก’ เป็นวันครบรอบพิธีสารมอนทรีออลที่เริ่มต้นขึ้นในปี 1987 ให้เราช่วยกันลด-ละ-เลิก การใช้สาร CFCs เพื่อรักษาโอโซนบนชั้นบรรยากาศของโลกไว้ แต่ใน ‘วันโอโซนโลก’ ปีนี้ ดาวเทียมโคเปอร์นิคัส เซนติเนล ขององค์การอวกาศยุโรป (ESA) กลับพบข่าวร้าย นั่นคือรูโหว่โอโซนใหม่ขนาดมหึมา   รูโหว่นี้มีขนาดกว้างถึง 26 ล้านตาร...


Close Advertising
X