×

วิทยาศาสตร์

โลกหมุนรอบ​ตัวเอง​
11 มกราคม 2021

รู้หรือไม่ ปี 2020 โลกหมุนรอบ​ตัวเอง​เร็วที่สุด​ใน​รอบ​ครึ่ง​ศตวรรษ

เหตุการณ์มากมายที่เกิดขึ้นในปีที่แล้ว โดยเฉพาะการระบาดของโรคโควิด-19 ล้วนแล้วแต่ทำให้เรารู้สึกว่าอยากให้ปี 2020 นั้นผ่านไปเร็วๆ และก็เหมือนจะเป็นเรื่องที่ตรงกันโดยบังเอิญ​ เมื่อผลการวัดค่าความเร็ว​ในการหมุนรอบ​ตัวเอง​ของโลกปรากฏ​ออกมา​ว่า ในปี 2020 นั้นโลกเราหมุน​รอบตัว​เองเร็วขึ้นกว่าปีไหนๆ ตลอดช่วงครึ่งศตวรรษ​ที่ผ่านมา   เกิดอะไรขึ้น ...
เขตสามเหลี่ยมแม่น้ำแยงซี
3 มกราคม 2021

จีนเตรียมปั้น ‘เขตสามเหลี่ยมแม่น้ำแยงซี’ เป็นชุมชนแห่งนวัตกรรมวิทยาศาสตร์ระดับโลก

วันนี้ (3 มกราคม) จีนวางแผนงานสร้างชุมชนแห่งนวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ทรงอิทธิพลในระดับโลกขึ้นในพื้นที่เขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี   แผนดังกล่าวระบุว่า จีนจะเพิ่มขีดความสามารถในระดับภูมิภาคด้านการสร้างสรรค์นวัตกรรมร่วมกันของสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี และหลอมรวมให้ภูมิภาคนี้เป็นหนึ่งเดียวกันในด้านนวัตกรรมที่เป็นของตนเองและอุ...
เจาะลึก 3 การค้นพบทางฟิสิกส์ 2020 ที่ต้องรู้ I THE STANDARD Daily x QTFT
24 ธันวาคม 2020

ชมคลิป: เจาะลึก 3 การค้นพบทางฟิสิกส์ 2020 ที่ต้องรู้ I THE STANDARD Daily x QTFT 23 ธันวาคม 2563

THE STANDARD Daily ประจำวันที่ 23 ธันวาคม 2563  เวลา 19.00 น.   3 การค้นพบทางฟิสิกส์ 2020 ที่ต้องรู้ I THE STANDARD Daily x QTFT ในความรู้สึก แม้การระบาดของโควิด-19 จะทำให้ปี 2020 เหมือนเป็นปีที่สูญเปล่า แต่แท้จริงแล้วมีความเคลื่อนไหว ในแวดวงวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะฟิสิกส์ ที่ส่งผลต่อทิศทางของมนุษยชาติเกิดขึ้นมากมายเหมือนเช่นทุกปี ...
รางวัลโนเบล 2020
12 ตุลาคม 2020

บทสรุปรางวัลโนเบลทุกสาขา ประจำปี 2020

เสร็จสิ้นไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วสำหรับการประกาศรางวัลโนเบลประจำปี 2020 ทั้ง 6 สาขา นี่คือโฉมหน้าของเจ้าของรางวัลโนเบลที่ประกาศรายชื่อในปีนี้ โดยพิธีมอบรางวัลจะจัดขึ้นที่กรุงสตอกโฮล์ม เมืองหลวงของสวีเดน ในวันที่ 10 ธันวาคม 2020       ภาพประกอบ: พิชามญชุ์ วรรณสาร...
ทำความรู้จักเทคนิคการตัดแต่งจีโนมยุคใหม่ งานวิจัยที่คว้ารางวัลโนเบลสาขาเคมี 2020
8 ตุลาคม 2020

ทำความรู้จักเทคนิคการตัดแต่งจีโนมยุคใหม่ งานวิจัยที่คว้ารางวัลโนเบลสาขาเคมี 2020

รางวัลโนเบลสาขาเคมีประจำปี 2020 ถูกมอบให้แก่นักวิทยาศาสตร์หญิง 2 ท่าน คือ เอ็มมานูแอลล์ ชาร์ปงทิเย (Emmanuelle Charpentier) จากหน่วยวิจัยมักซ์ พลังค์สำหรับวิทยาศาสตร์ของเชื้อก่อโรค (Max Planck Unit for the Science of Pathogens) และ เจนนิเฟอร์ เอ ดอดนา (Jennifer A. Doudna) แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย-เบิร์กลีย์ สำหรับการพัฒนาวิธีตัดแต่งจีโนม (Genome...
nobel physics prize black hole
7 ตุลาคม 2020

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ปี 2020 กับงานวิจัยที่ทำให้มนุษย์เข้าใจหลุมดำมากขึ้น

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี 2020 อุทิศให้กับการทำความเข้าใจวัตถุลึกลับที่มาพร้อมกับปริศนาดำมืดที่สุดในเอกภพ นั่นคือ ‘หลุมดำ’ (Black Hole)   เงินรางวัลจำนวน 10 ล้านโครนจากการมอบรางวัลโนเบลครั้งนี้จะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน ครึ่งแรกมอบให้แก่ โรเจอร์ เพนโรส (Roger Penrose) จากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด สำหรับการค้นพบว่าการก่อเกิดหลุมดำสอดคล้องกับ...
spaceX2
7 ตุลาคม 2020

SpaceX คว้าสัญญามูลค่า 149 ล้านดอลลาร์ สร้างดาวเทียมติดตามขีปนาวุธให้กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ

แม้เป้าหมายการพัฒนาเที่ยวบินอวกาศเชิงพาณิชย์จะยังเป็นเรื่องที่ห่างไกลจากความเป็นจริงในตอนนี้อยู่พอสมควร แต่บริษัทผู้พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศอย่าง SpaceX ก็พอจะมีเรื่องน่ายินดีให้ชื่นใจอยู่บ้าง เมื่อพวกเขาสามารถคว้าสัญญาการสร้างดาวเทียมติดตามขีปนาวุธให้กับหน่วยงานสำนักงานพัฒนาอวกาศ (Space Development Agency: SDA) และกระทรวงกลาโหมของสหรัฐฯ ได้สำเร็จ &n...
รายงานสดการประกาศรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี 2020 กับ THE STANDARD และ QTFT
6 ตุลาคม 2020

ชมคลิป: รายงานสดการประกาศรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี 2020 – THE STANDARD Daily 6 ตุลาคม 2563

THE STANDARD Daily ประจำวันที่ 6 ตุลาคม 2563  เวลา 19.00 น.   เกาะติดบรรยากาศการมอบรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี 2020 กับ THE STANDARD และ QTFT   สามารถติดตาม THE STANDARD Daily ได้เป็นประจำทุกวันจันทร์-พฤหัส เวลา 19.00 น. เป็นต้นไป ที่ Facebook Live และ Youtube Live ของ t...
15 กันยายน 2020

การพบโมเลกุล ‘ฟอสฟีน’ ในชั้นบรรยากาศดาวศุกร์ กุญแจดอกแรกสู่การไขคำตอบสิ่งมีชีวิตบน ‘ดาวฝาแฝดโลก’

  ทีมนักดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัย​คาร์ดิฟฟ์ในสหราชอาณาจักร ประกาศ​การค้นพบโมเลกุลของสารประกอบ ‘ฟอสฟีน’ ในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์​ ดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้โลกเราที่สุด และมีขนาดรวมถึงแรงโน้มถ่วงที่ใกล้เคียงโลกเราจนถูกขนานนามว่าเป็นดาวฝาแฝด แต่กลับถูกมองข้ามตลอดมาในโครงการสำรวจอวกาศ   ทำไมที่ผ่านมาเราไม่เคยเน้นไปสำรวจหาร่องรอยชีวิต...
15 กันยายน 2020

เพราะสมองนั้นยืดหยุ่น อ่อนไหว และมหัศจรรย์

“สมองส่วนควบคุมเท้าของคนทั่วไปจะขนาดประมาณเม็ดถั่ว แต่ของผม...ใหญ่เกือบเท่าลูกปิงปอง” แมตต์ สตัทซ์แมน นักกีฬายิงธนูพาราลิมปิก ซึ่งไม่มีแขนสองข้าง แต่สามารถใช้เท้าและคอในการเหนี่ยวคันธนูยิงได้อย่างแม่นยำ เล่าถึงผลสแกนสมองของเขา หลังจากดูหนัง Rising Phoenix ซึ่งเป็นสารคดีที่ว่าด้วยเรื่องราวการต่อสู้ของนักกีฬาพาราลิมปิกจบลง ความรู้สึกและความคิดห...


Close Advertising