×

วัคซีนโควิด-19

sinopharm
20 กันยายน 2021

มติ อย. ไม่อนุญาตให้ฉีดวัคซีน Sinopharm ในเด็กอายุตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป ชี้ข้อมูลความปลอดภัย-ประสิทธิภาพไม่เพียงพอ

วันนี้ (20 กันยายน) นพ.ไพศาล ดั่นคุ้ม เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า จากการที่ บริษัท ไบโอจีนีเทค จำกัด ซึ่งเป็นผู้ได้รับอนุญาตนำเข้าวัคซีน Sinopharm ในประเทศไทย ได้ยื่นเอกสารกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพื่อขออนุญาตขยายกลุ่มอายุผู้ใช้วัคซีน จากเดิมกำหนดไว้ที่ 18 ปีขึ้นไป เป็นตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป    ทั้งนี้ คณะกรรม...
ฉีด Sinopharm ให้นักเรียน
20 กันยายน 2021

ฉีด Sinopharm ให้นักเรียนอายุ 10-18 ปี กว่าแสนคนใน กทม. และปริมณฑล เตรียมเปิดเทอม เข้าห้องเรียน

วันนี้ (20 กันยายน) ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ จัดโครงการ VACC 2 School ครั้งที่ 2 เพื่อนำร่องฉีดวัคซีน Sinopharm ให้กับเด็กและเยาวชนอายุระหว่าง 10-18 ปี โดยเปิดรับสมัครผ่านสถานศึกษา ยื่นความประสงค์ขอรับการจัดสรรวัคซีนให้แก่กลุ่มนักเรียนในสังกัด โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย   ซึ่งในวันนี้จะฉีดให้กับเด็กนักเรียนทั้งหมด 2,000 คน จากรายชื่อที่ได้ขึ้นทะเบี...
20 กันยายน 2021

จำนวนผู้ได้รับวัคซีนโควิดในประเทศไทย (20 กันยายน 2564)

ไทยมีผู้ฉีดวัคซีนเข็มแรกแตะ 29 ล้านราย และมีผู้รับวัคซีนครบ 2 เข็มแล้ว 15.1 ล้านราย   วันนี้ (20 กันยายน) ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 (ศบค.) รายงานจำนวนผู้ได้รับวัคซีนโควิดประจำวัน รวม 256,392 โดส แบ่งเป็น - เข็มที่ 1 จำนวน 109,439 ราย - เข็มที่ 2 จำนวน 146,698 ราย - เข็มที่ 3 จำนวน 255 ราย   โดยมีผู้ได้รับวัคซีนสะสม...
FDA
20 กันยายน 2021

แพทย์ที่ปรึกษาทำเนียบขาวระบุ การตัดสินใจของ FDA ที่ไม่สนับสนุนการฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นให้บุคคลทั่วไป ยังไม่ใช่จุดจบของเรื่องนี้

วานนี้ (19 กันยายน) สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า แอนโทนี เฟาซี หัวหน้าที่ปรึกษาทางด้านการแพทย์ประจำทำเนียบขาว หรือหมอใหญ่สหรัฐฯ ระบุว่า การตัดสินใจของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (FDA) ที่ลงมติไม่สนับสนุนการฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นให้บุคคลทั่วไป (Booster Shot) ยังไม่ใช่จุดจบของเรื่องนี้ อีกทั้งยังไม่เชื่อว่าการเสียชีวิตของผู้คนจำนวนมากจากโควิดในสหรัฐฯ ...
Yong Poovorawan
20 กันยายน 2021

นพ.ยง ย้ำวัคซีนในเด็ก 12-17 ปีต้องปลอดภัยสูง ศึกษาแนวทางฉีด mRNA เข็มเดียว ป้องกันโควิด-ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ

วันนี้ (20 กันยายน) นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แสดงความคิดเห็นประเด็นโควิดในเด็กและการให้วัคซีน ระบุว่า โรคโควิดในเด็กอายุ 12-17 ปี จะมีอาการไม่มาก หรือเสียชีวิตน้อยมาก จากการศึกษาในสหรัฐอเมริกาช่วงการระบาด 120 วัน เด็กวัยรุ่น 1 ล้านคน ผู้ชายเสียชีวิต 2 คน ถ้าเป็นผู้หญิงเสีย...
20 กันยายน 2021

เปรียบเทียบข้อมูลวัคซีนโควิดในวัยรุ่น 12-17 ปี

  ตุลาคม 2564 กระทรวงสาธารณสุขจะเริ่มฉีดวัคซีน Pfizer-BioNTech ให้กับวัยรุ่นอายุ 12 ปีขึ้นไป เพื่อเตรียมเปิดโรงเรียนในภาคเรียนหน้า แต่ผู้ปกครองหลายท่านน่าจะยังกังวลว่าควรให้บุตรหลานฉีดวัคซีนหรือไม่ หลายท่านน่าจะอยากให้ฉีด แต่ก็จะมีความสงสัยต่ออีกว่าควรฉีดวัคซีนยี่ห้อไหน ซึ่งตอนนี้น่าจะได้ยินอยู่ 2 ชนิด ระหว่างวัคซีนชนิด mRNA และวัคซีนชน...
cross vaccination formula in Thailand
20 กันยายน 2021

ชมคลิป: เปิดสูตรไขว้วัคซีนในไทย มีกี่สูตร ใครได้ฉีดบ้าง

เปิดสูตรไขว้วัคซีนในไทย มีกี่สูตร ใครได้ฉีดบ้าง...
19 กันยายน 2021

จำนวนผู้ได้รับวัคซีนโควิดในประเทศไทย (19 กันยายน 2564)

วันนี้ (19 กันยายน) ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 (ศบค.) รายงานจำนวนผู้ได้รับวัคซีนโควิดประจำวัน รวม 596,230 โดส แบ่งเป็น - เข็มที่ 1 จำนวน 281,812 ราย - เข็มที่ 2 จำนวน 313,636 ราย - เข็มที่ 3 จำนวน 782 ราย   โดยมีผู้ได้รับวัคซีนสะสมทั้งหมด 44,485,657 โดส แบ่งเป็น - เข็มที่ 1 จำนวน 28,893,133 ราย - เข็มที่ 2 จำนวน 14,971,3...
19 กันยายน 2021

กรรมการที่ปรึกษาของ อย. สหรัฐฯ สนับสนุนให้ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นกับผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป-ผู้เสี่ยงติดเชื้อรุนแรง แต่ไม่สนับสนุนให้ฉีดกับคนทั่วไปเป็นวงกว้าง

เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา คณะกรรมการที่ปรึกษาวัคซีนและผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่เกี่ยวข้องของสำนักงานอาหารและยาสหรัฐฯ (FDA) ปฏิเสธที่จะแนะนำการให้วัคซีนเข็มกระตุ้นของ Pfizer-BioNTech แบบทั่วไป แต่กลับสนับสนุนให้ใช้วัคซีนเข็มกระตุ้นเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป หรือผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อแบบรุนแรงเท่านั้น   อย่างไรก็ตาม ข้อเ...
18 กันยายน 2021

ฉีดวัคซีนเข้าผิวหนังกระตุ้นภูมิได้หรือไม่ เปิดผลวิจัยฉีด AstraZeneca หลังฉีด Sinovac ครบ 2 เข็ม

งานวิจัยของโรงพยาบาลวชิระภูเก็ต พบว่า การฉีดวัคซีนกระตุ้นเข็มที่ 3 ด้วยวัคซีน AstraZeneca แบบฉีดเข้าผิวหนัง สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มได้ใกล้เคียงกับแบบฉีดเข้ากล้ามเนื้อ แต่ใช้ปริมาณวัคซีนเพียง 1 ใน 5 ของการฉีดแบบปกติ ส่วนผลข้างเคียงตรงบริเวณที่ฉีดวัคซีน เช่น ปวด บวม แดง ร้อน พบมากกว่า ในขณะที่อาการทางระบบทั่วไปพบน้อยกว่า เช่น ไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย&nbs...


Close Advertising
X