×

วรรณกรรม

23 ตุลาคม 2023

ชวนไปดูละครเวที ‘เจ้าหงิญ’ ในเทศกาลละครกรุงเทพฯ ที่ River City Bangkok

คนรุ่นใหม่อาจยังไม่เคยได้ยินหนังสือเรื่อง เจ้าหงิญ ซึ่งเป็นวรรณกรรมไทยรางวัลซีไรต์ (วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน) ประจำปี 2548 เป็นการรวมเรื่องสั้น 8 เรื่อง ที่มีตัวละครหนึ่งเชื่อมโยงกัน เมื่ออ่านจะรู้สึกราวกับเราได้ผจญภัย และได้ฉุกคิดเรื่องต่างๆ มากมายระหว่างทางไปพร้อมกับพวกเขา   เจ้าหงิญ The Staged Reading เป็นละครเวทีแบบอ่าน...
วันสุนทรภู่
22 มิถุนายน 2023

26 มิถุนายน – วันสุนทรภู่

พระสุนทรโวหาร (ภู่) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ‘สุนทรภู่’ เกิดวันที่ 26 มิถุนายน 2329    ปี 2529 ในโอกาสครบรอบ 200 ปีชาตกาล สุนทรภู่ได้รับยกย่องจากองค์การ UNESCO ให้เป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านงานวรรณกรรม    ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมายหลายเรื่อง ด้านนิราศ เช่น นิราศภูเขาทอง, นิราศสุพรรณ, นิราศเมืองแกลง, นิราศพระ...
11 มีนาคม 2023

ชมคลิป: ‘ต้านบุลลี่-แก้เนื้อหา’ นิยายระดับโลก เลี่ยงคำเหยียด อ้วน น่าเกลียด ควรหรือไม่? | Global Focus EP.10

กลายเป็นประเด็นร้อนที่จุดชนวนวิพากษ์วิจารณ์ในแวดวงวรรณกรรม สำหรับกรณีการแก้ไขเนื้อหาและถ้อยคำในนวนิยายชื่อดังระดับโลก ทั้งนิยายสายลับ เจมส์ บอนด์ ของ เอียน เฟลมมิง (Ian Fleming) นักเขียนชาวอังกฤษ และนิยายสำหรับเด็กอย่าง ชาร์ลีกับโรงงานช็อกโกแลต, ย.จ.ด., แม่มด, มาทิลดา ผลงานของ โรอัลด์ ดาห์ล (Roald Dahl) นักเขียนชาวเวลส์ ซึ่งนิยายเหล่านี้ต่างถูกยกให...
3 มีนาคม 2023

จากดราม่างดใช้คำ ‘อ้วน’ ‘น่าเกลียด’ สู่ข้อถกเถียงวรรณกรรมควรลบคำ-แก้เนื้อหาตามยุคสมัยหรือไม่

ตลอดช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมาเกิดข้อถกเถียงและกระแสวิพากษ์วิจารณ์เป็นวงกว้างอีกครั้งถึงประเด็นที่ว่า ‘วรรณกรรมควรปรับเปลี่ยนเนื้อหาและการใช้คำไปตามยุคสมัยหรือไม่’ จากกรณีที่เกิดขึ้นกับผลงานวรรณกรรมของ โรอัลด์ ดาห์ล (Roald Dahl) นักเขียนวรรณกรรมเด็กชื่อดังชาวอังกฤษ ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนคำและเนื้อหาบางส่วนในงานต้นฉบับของเขา เพื่อตีพิมพ์หนังสือในเว...
Abdulrazak Gurnah
7 ตุลาคม 2021

นักเขียนชาวแทนซาเนียคว้าโนเบล สาขาวรรณกรรม ปี 2021 จากการนำเสนอผลกระทบของลัทธิล่าอาณานิคมและชะตากรรมผู้ลี้ภัย

รางวัลโนเบล สาขาวรรณกรรม ปี 2021 ตกเป็นของ อับดุลราซัก กูร์นาห์ นักเขียนชาวแทนซาเนียวัย 72 ปี คำอธิบายของคณะกรรมการมอบรางวัลระบุว่า เขาได้รับรางวัล “จากการเจาะเข้าไปถึงผลกระทบของลัทธิล่าอาณานิคมและชะตากรรมของผู้ลี้ภัย ในกระแสธารระหว่างวัฒนธรรมและทวีป อย่างเห็นอกเห็นใจและไม่ประนีประนอม”   กูร์นาห์เกิดเมื่อปี 1948 และเติบโตมาบนเกาะแซนซิบาร์ในม...
ทมยันตี
21 กันยายน 2021

ทมยันตี นอกโลกนิยายและการเมือง: วงการวรรณกรรม กฎหมาย และความศรัทธา

เมื่อ ‘ทมยันตี’ นักเขียนนิยายเลื่องชื่อ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ จากไปในวันที่ 13 กันยายนที่ผ่านมา มีกระแสกล่าวถึงทั้งด้านความอาลัยในผลงานสร้างสรรค์วรรณกรรม และการนำเอาประวัติทางการเมืองในอดีตมาทวงถามถึงการปลุกระดม ใส่ร้าย และก่อให้เกิดการสังหารหมู่ที่ได้กระทำลงไปในช่วง 6 ตุลาคม 2519 ซึ่งทั้งสองด้านล้วนเป็นความจริงที่เกิดขึ้นอย่างปฏิเสธไม่ได้ ...

Close Advertising