×

ปิติ ศรีแสงนาม

29 พฤศจิกายน 2024

ชมคลิป: ไทยในฐานะ ‘พันธมิตร BRICS’ โอกาสครั้งใหม่บนเวทีโลก? | GLOBAL FOCUS #101

ไทยได้เป็น ‘พันธมิตร BRICS’ อย่างเป็นทางการ พร้อมกับประเทศอื่นๆ อีก 12 ประเทศ หลายฝ่ายตั้งคำถามว่า นี่จะเป็นประตูแห่งโอกาสครั้งสำคัญของไทยที่จะแสดงบทบาทเพิ่มมากขึ้นบนเวทีโลกหรือไม่ การเข้าร่วม BRICS ไทยจะได้ประโยชน์อะไรและจะถูกมองว่าเลือกข้างหรือไม่   ร่วมหาคำตอบผ่านการสัมภาษณ์ รศ. ดร.ปิติ ศรีแสงนาม อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ม...
20 พฤศจิกายน 2024

จุดประกาย ‘คน’ อาเซียน เปลี่ยนอนาคต เสวนาแลกเปลี่ยนมุ่งสู่วิสัยทัศน์ 2045 [ADVEROTIAL]

เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้วสำหรับงานเสวนา ‘OUR ASEAN VISION: FROM PEOPLE TO POWER จุดประกาย ‘คน’ อาเซียน เปลี่ยนอนาคต’ เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายนที่ผ่านมา โดยมีเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนความเห็น 2 ช่วง (Session)   เวทีแรกเสวนาในหัวข้อ ‘Empowering People for ASEAN Beyond 2025 แผนพัฒนาคนเพื่อรองรับอาเซียนภายหลังปี 2568’ ดำเนินการเสวนาโดย ณัฏฐา โก...
20 พฤศจิกายน 2024

13 พันธมิตรใหม่ BRICS กับความสำคัญเชิงภูมิศาสตร์-ยุทธศาสตร์

BRICS ขยายพาร์ตเนอร์เพิ่มอีก 13 ประเทศ รวมถึงไทย โดย รศ. ดร.ปิติ ศรีแสงนาม คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้อำนวยการบริหาร มูลนิธิอาเซียน มองว่าพาร์ตเนอร์ใหม่ BRICS ล้วนมีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ หรือแหล่งทรัพยากรสำคัญที่ป้อนอุตสาหกรรมใหม่ๆ   ในอีกมุมหนึ่ง การเลือกพาร์ตเนอร์ BRICS รอบนี้ยังสะท้อนการเชื่อมหมาก...
9 สิงหาคม 2024

วิกฤตเงินกีบใน สปป.ลาว เกิดเพราะกู้เงินจีนมากเกินไปใช่หรือไม่

รายการ GLOBAL FOCUS สัมภาษณ์ รศ. ดร.ปิติ ศรีแสงนาม อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถึงวิกฤตเงินเฟ้อและค่าเงินกีบอ่อนค่าใน สปป.ลาว รวมถึงหาคำตอบว่า ต้นตอของปัญหาเหล่านี้เกิดจากการกู้ยืมเงินต่างประเทศมากเกินไปหรือไม่ เพื่อนำเงินมาลงทุนในโครงสร้างขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะโครงการรถไฟความเร็วสูงและเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำ รวมถึงไทยในฐานะประเทศเพื่...
3 สิงหาคม 2024

ชมคลิป: วิกฤตเงินเฟ้อ ค่าเงินกีบอ่อนค่าใน สปป.ลาว กระทบไทยอย่างไร | GLOBAL FOCUS #84

สปป.ลาว กำลังประสบวิกฤตเงินเฟ้อและค่าเงินกีบอ่อนค่าอย่างหนัก หลายฝ่ายตั้งคำถามว่า ต้นตอของปัญหาเหล่านี้เกิดจากการกู้ยืมเงินต่างประเทศมากเกินไปหรือไม่ เพื่อนำเงินมาลงทุนในโครงสร้างขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะโครงการรถไฟความเร็วสูงและเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำ รวมถึงไทยในฐานะประเทศเพื่อนบ้านจะได้รับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างไร   ร่วมหาคำตอบผ่านการสัมภ...
8 กรกฎาคม 2024

คลับของรัสเซีย-จีน กับบทบาท ‘ผู้สร้างเสถียรภาพโลก’ แต่ NATO กังขา

เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ประธานาธิบดีสีจิ้นผิงของจีนได้เดินทางไปร่วมประชุมองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ หรือ SCO ครั้งที่ 24 ที่กรุงอัสตานาของคาซัคสถาน ท่ามกลางสายตาของหลายฝ่าย โดยเฉพาะตะวันตกที่มองว่าจีนและรัสเซียจับมือกันแน่นขึ้นและพยายามจะสร้างระเบียบโลกใหม่   แถลงการณ์จากที่ประชุม SCO มีข้อเรียกร้องที่ชัดเจนคือ ‘โลกควรมีหลายขั้วอำนาจ’ เพื่อ...
6 มิถุนายน 2024

ระเบียบโลกใหม่ที่ไทยจะ ‘ร่วมสร้าง’ ใน BRICS คืออะไร

ไทยเพิ่งยืนยันเจตจำนงสมัครสมาชิกกลุ่ม BRICS ตามข้อเสนอของกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งในแง่ภูมิเศรษฐศาสตร์ ถือเป็นมูฟที่สำคัญของไทย ปัจจุบัน BRICS มีสมาชิกอยู่ 10 ประเทศ และกำลังมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ บนเวทีโลก ทั้งในมิติการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศในฐานะระบบพหุภาคีนิยมที่จะสร้างระเบียบโลกใหม่ ท้าทายระเบียบโลกเดิมที่มีสหรัฐฯ เป็นผู้กำหนดกฎกติกา &...
เลือกตั้งไต้หวัน ในมุมมองนักวิชาการไทย
13 มกราคม 2024

เลือกตั้งไต้หวัน ในมุมมองนักวิชาการไทย

มุมมองของนักวิชาการไทยที่มีต่อการเลือกตั้งประธานาธิบดีไต้หวัน 2024 ในประเด็นที่ว่า การเลือกตั้งครั้งนี้มีความสำคัญอย่างไร และมีประเด็นใดน่าจับตามองบ้าง   ไต้หวันจะจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีไต้หวันขึ้นในวันที่ 13 มกราคมนี้ โดยผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้งจะก้าวขึ้นสู่เก้าอี้ผู้นำคนใหม่ของไต้หวัน ซึ่งจะมีบทบาทสำคัญอย่างมากในการกำหนดทิศทางและ...
1 ธันวาคม 2023

นักวิชาการ-สื่อมวลชนแวดวง IR กล่าวถึงการจากไปของ เฮนรี คิสซิงเจอร์

  “จากปัญญาชนสำนัก Realpolitik สู่รัฐบุรุษรางวัลโนเบล ผู้สร้างเสถียรภาพแห่งดุลอำนาจอันก่อให้เกิดจุดสิ้นสุดแห่งสงครามเย็น บนความย้อนแย้งที่ในหลายๆ มุมของโลกมองว่าเขาคืออาชญากรสงครามที่นำไปสู่การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ แต่ทั้งหมดนั้นคือบุคคลตัวอย่างที่อุทิศการทำงานจนถึงอายุ 100 ปี เพื่อรักษาผลประโยชน์แห่งชาติของสหรัฐอเมริกา นั่นคือ เฮนรี คิสซิง...
เศรษฐา ทวีสิน
5 ตุลาคม 2023

ความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ปี 2024 มีอะไรบ้าง ไทยควรยืนตรงไหน ในยุคโลกหลายขั้วอำนาจ

โลกที่เคยมีเพียงขั้วอำนาจเดียวกุมกติกานั้นได้แตกดับลงแล้ว และกำลังเข้าสู่ระเบียบโลกใหม่ที่มีหลายขั้วมหาอำนาจมากยิ่งขึ้น    แน่นอนว่าเมื่อผู้คุมเกม-ผู้วางกฎกติกานั้นไม่ได้มีแค่หนึ่งเดียวอีกต่อไป สถานการณ์ที่เกิดขึ้นจึงมีความซับซ้อน เกิดเป็นการช่วงชิงอำนาจและความเป็นใหญ่ ท่ามกลางความขัดแย้งทางภูมิศาสตร์ที่กระจายตัวเป็นจุดวาบไฟขึ้นตามพ...


Close Advertising
X