×

นโยบายการเงินไทย

23 พฤศจิกายน 2024

นโยบายการเงินโลกกับแรงกดดันทางการเมืองทั้งในและระหว่างประเทศในปี 2025

นโยบายการเงินปี 2025 เป็นความหวังสำคัญของนักลงทุนแทบทั้งตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผลการเลือกตั้งสหรัฐฯ ปรากฏว่าเป็น Donald Trump ได้กลับมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีอีกครั้ง ทิศทางการค้าและการเมืองโลกจะถูกปั่นป่วนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้   เมื่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสูง การตอบสนองของธนาคารกลางจะมีความสำคัญเป็นพิเศษ ธนาคารกลางจะเลือกเดินทางไ...
7 ตุลาคม 2024

ชมคลิป: ประเมิน ‘นโยบายการเงินโลก’ ในระยะต่อไปเป็นอย่างไร | THE STANDARD WEALTH

ประเมินนโยบายการเงินโลกในระยะต่อไปเป็นอย่างไร พูดคุยกับ ดร.ปุณยวัจน์ ศรีสิงห์ นักเศรษฐศาสตร์อาวุโส ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB EIC)   ติดตาม รายการ Morning Wealth ทุกวัน จันทร์ – ศุกร์ เวลา 7.00-8.00 น. ทาง Facebook และ YouTube ของ THE STANDARD...
4 กรกฎาคม 2024

World Bank ชี้ หากไม่มีดิจิทัลวอลเล็ต แบงก์ชาติสามารถลดดอกเบี้ยได้อีก 0.50% ให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวช้า

World Bank มอง ความไม่แน่นอนของโครงการดิจิทัลวอลเล็ตทำให้ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ควรยืดการผ่อนคลายนโยบายการเงินออกไปก่อนเนื่องจากความเสี่ยงด้านเงินเฟ้อจากโครงการดังกล่าว พร้อมประเมินว่า หากไม่มีดิจิทัลวอลเล็ต ตามทฤษฎีแล้วแบงก์ชาติสามารถลดดอกเบี้ยอีก 0.50% ให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวช้า   ธนาคารโลก (World Bank) ระบุในรายงานตามติดเ...
12 มิถุนายน 2024

เมื่อเศรษฐกิจ นโยบายการเงิน และตลาดทุน สวนทาง

ตลาดกระทิงปี 2024 เป็นขาขึ้นที่น่าสงสัย   สหรัฐอเมริกาเริ่มปีด้วยดอกเบี้ยนโยบาย 5.50% สูงที่สุดในรอบ 24 ปี ตลาดเชื่อว่าเศรษฐกิจไม่น่าจะทนต้นทุนนี้ไหว Fed อาจต้องลดดอกเบี้ย 150-200 bps   ผ่านมาไม่ถึงครึ่งปี มุมมองเหล่านี้กลับสวนทางไปหมด ไม่ใช่แค่เศรษฐกิจที่แข็งแกร่งเกินคาด ตลาดหุ้นก็ทำ All Time High แม้ Fed อาจไม่ลดดอกเบี้ยในปี...
25 กันยายน 2023

ชมคลิป: แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปีนี้และปีหน้า และมุมมองต่อนโยบายการเงินไทย | THE STANDARD WEALTH

ประเมินแนวโน้มเศรษฐกิจไทยปีนี้-ปีหน้า และมุมมองต่อนโยบายการเงินไทย ที่กำลังจะมีการประชุมในวันที่ 27 กันยายนนี้ จะมีทิศทางเป็นอย่างไร พูดคุยกับ ดร.ฐิติมา ชูเชิด ผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยเศรษฐกิจและตลาดการเงิน ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ (SCB EIC)   ติดตาม รายการ Morning Wealth ทุกวัน จันทร์ – ศุกร์ เวลา 7....
19 ธันวาคม 2022

ธปท. คาด โลกชะลอกระทบไทยจำกัด ย้ำนโยบายดอกเบี้ยจะปรับตามพัฒนาการเศรษฐกิจ จับตา 2 ปัจจัยเสี่ยงกดดันเงินเฟ้อเกินกรอบเป้าหมาย

ธปท. คาด เศรษฐกิจโลกชะลอกระทบไทยจำกัด ย้ำนโยบายการเงินจะปรับเปลี่ยนตามพัฒนาการเศรษฐกิจ จับตา 2 ปัจจัยเสี่ยงกดดันเงินเฟ้อไม่กลับเข้าสู่กรอบเป้าหมาย   ปิติ ดิษยทัต ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ให้ความเห็นภายในงาน Analyst Meeting ครั้งที่ 4/2565 ในช่วงเช้าวันนี้ (19 ธันวาคม) ว่าความเสี่ยงทางเศรษฐกิจที่สำคั...
ธปท.
6 กันยายน 2022

ชมคลิป: ‘เศรษฐพุฒิ’ ย้ำนโยบายการเงินไทยไม่ได้ Behind the Curve มองโอกาสเกิด Wage-Price Spiral ต่ำ

ธปท. มองเงินเฟ้อไทยถึงจุดพีคในไตรมาส 3 ก่อนทยอยปรับลดลงสู่กรอบเป้าหมายในช่วงกลางปีหน้า ย้ำนโยบายการเงินไม่ได้ Behind the Curve โอกาสเกิดวงจรอุบาทว์เงินเฟ้อยังต่ำ ติดตามรายละเอียดได้ในไฮไลต์นี้   ติดตาม รายการ Morning Wealth ทุกวัน จันทร์ – ศุกร์ เวลา 7.00-8.00 น. ทาง Facebook และ YouTube ของ THE STANDARD WEALTH   อ...
23 ธันวาคม 2021

ชมคลิป: ถอดรหัสเศรษฐกิจ และแนวโน้มนโยบายการเงินไทย ปี 2565

วิเคราะห์ผลการประชุม กนง. แนวโน้มนโยบายการเงินไทย และมุมมองเศรษฐกิจปี 2565 พูดคุยกับ ดร.ปิยศักดิ์ มานะสันต์ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายวิจัยการลงทุน บล.ไทยพาณิชย์   ติดตามรายการ Morning Wealth ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 07.00-08.00 น. ทาง Facebook และ YouTube ของ THE STANDARD WEALTH     ช่องทางติดตาม THE STANDARD WEALTH T...
กนง.
22 ธันวาคม 2021

กนง. มีมติเอกฉันท์ ‘คง’ ดอกเบี้ยนโยบาย 0.5% พร้อมหั่นคาดการณ์ GDP ปี 65 เหลือ 3.4% หลังมองโอไมครอนกระทบเศรษฐกิจช่วงต้นปี

ปิติ ดิษยทัต ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) เปิดเผยว่า ที่ประชุม กนง. วันนี้ (22 ธันวาคม) มีมติเอกฉันท์ให้คงดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.5% ต่อปี โดย กนง. ประเมินว่า เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวได้ต่อเนื่อง ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปปรับเพิ่มขึ้นชั่วคราวจากราคาพลังงานเป็นหลัก แต่ยังต้...
Thai economy
18 สิงหาคม 2021

KKP Research ชี้ทางรอดเศรษฐกิจไทย พระเอกคือ ‘วัคซีน’ แต่นโยบายการเงิน-การคลังต้องโถมหนักกว่านี้ พร้อมแนะทำมาตรการ QE

KKP Research โดยเกียรตินาคินภัทร วิเคราะห์ตัวเลข GDP ในไตรมาส 2 ส่งสัญญาณเศรษฐกิจในประเทศที่อ่อนแอต่อเนื่อง แม้จะมีการเติบโตได้ 7.5% เทียบกับปีก่อน แต่เหตุผลหลักเกิดจากฐานที่ต่ำของ GDP ในไตรมาส 2 ปีก่อน ที่หดตัวไป 12.1% ในขณะที่การบริโภคและการลงทุนในประเทศชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนจากผลกระทบจากการระบาดของโควิด   ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการแพร่ร...


Close Advertising