×

ดาราศาสตร์

SpinLaunch
25 มิถุนายน 2022

‘SpinLaunch’ วิถีใหม่แห่งการส่งดาวเทียมขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ ด้วยการหมุนที่ ‘ไวกว่าเสียง’

‘SpinLaunch’ บริษัทสตาร์ทอัพจากแคลิฟอร์เนียต้องการยิงดาวเทียมออกสู่อวกาศผ่านการหมุนที่ ‘ไวกว่าเสียง’ โดยมันเป็นวิธีการที่แปลกใหม่สำหรับการปล่อยดาวเทียมสู่ชั้นบรรยากาศ   บริษัทวางแผนจะใส่ดาวเทียมไว้ในจรวดรูปร่างคล้ายปากกาที่กว้างประมาณ 300 ฟุต หมุนมันด้วยเครื่องยนต์ความเร็วสูงและส่งออกขึ้นชั้นบรรยากาศ   ณ ตอนนี้บริษัทสำเร็จการท...
หลุมดำ
15 มิถุนายน 2022

กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลค้นพบ ‘หลุมดำ’ พเนจรในกาแล็กซีทางช้างเผือก

สื่อต่างประเทศรายงานวานนี้ (14 มิถุนายน) ว่ากล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลตรวจพบ ‘หลุมดำ’ ที่ล่องลอยอย่างโดดเดี่ยวบนกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราได้เป็นครั้งแรก   ทีมนักวิจัยที่ทำการสำรวจเทหวัตถุดังกล่าวแบ่งออกเป็น 2 ทีมด้วยกัน โดยทีมแรกซึ่งนำโดย ไคแลช ซาฮุ (Kailash Sahu) นักวิทยาศาสตร์จากสถาบันวิทยาการกล้องโทรทรรศน์อวกาศในบัลติมอร์ ประเมินว่าห...
ทิเบต
14 มิถุนายน 2022

ทิเบตเริ่มสร้างท้องฟ้าจำลองบนพื้นที่สูงสุดในโลก กำหนดเปิดให้เข้าชมปี 2024

เมื่อวันที่ 12 มิถุนายนที่ผ่านมา นครลาซา เมืองเอกของเขตปกครองตนเองทิเบต ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน จัดพิธีวางศิลาฤกษ์โครงการก่อสร้างท้องฟ้าจำลองทิเบต ซึ่งมีกำหนดเปิดให้เข้าชมในปี 2024 และจะเป็นท้องฟ้าจำลองบนพื้นที่ที่สูงที่สุดในโลก   หวังจวิ่นเจี๋ย รองหัวหน้าสำนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของทิเบต ระบุว่า ท้องฟ้าจำลองแห่งใหม่นี้จะมีพื้นที่ใช้...
NASA
10 มิถุนายน 2022

NASA เตรียมเริ่มต้นศึกษา UFO หลังได้รับความสนใจอย่างมากจากสาธารณชน

วันนี้ (10 มิถุนายน) องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา หรือ NASA ประกาศเตรียมเริ่มต้นศึกษาจานบินอวกาศของมนุษย์ต่างดาว (Unidentified Flying Objects: UFO) หรือปรากฏการณ์ใดๆ กลางอากาศที่ไม่สามารถระบุได้ (Unidentified Aerial Phenomena: UAP) ด้วยการรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ และวิเคราะห์หลักฐานงานวิจัย เพื่อพัฒนาความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์เกี่ยว...
ดาวเคราะห์น้อยริวกุ
6 มิถุนายน 2022

ญี่ปุ่นพบกรดอะมิโนกว่า 20 ชนิด จากตัวอย่างดาวเคราะห์น้อย ‘ริวกุ’

วันนี้ (6 มิถุนายน) แหล่งข่าวจากกระทรวงศึกษาธิการญี่ปุ่นเปิดเผยการตรวจพบกรดอะมิโนมากกว่า 20 ชนิด ในตัวอย่างที่เก็บมาจากพื้นผิวดาวเคราะห์น้อยริวกุ (Ryugu) ซึ่งอยู่ห่างจากโลกมากกว่า 300 ล้านกิโลเมตร โดยยานสำรวจ ‘ฮายาบูสะ 2’ (Hayabusa-2) ของประเทศ   สื่อท้องถิ่นรายงานว่า กรดอะมิโนที่ค้นพบอาจจำเป็นต่อการยังชีพ และอาจซุกซ่อนเบาะแสสำหรับทำความ...
ดวงอาทิตย์เทียม
23 ธันวาคม 2021

จีนเดินหน้าทดสอบ ‘ดวงอาทิตย์เทียม’ รอบใหม่ ตั้งเป้าให้ความร้อนและทนทานนานกว่าเดิม หวังใช้ผลิตพลังงานสะอาด

สำนักข่าวซินหัวของทางการจีนรายงานว่า ทีมนักวิจัยของสถาบันวิทยาศาสตร์กายภาพแห่งเหอเฟย หรือ Hefei Institutes of Physical Science ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน (Chinese Academy of Sciences: CAS) ได้เดินหน้าทดสอบเตาปฏิกรณ์ Experimental Advanced Superconducting Tokamak (EAST) หรือดวงอาทิตย์เทียม รอบใหม่    รายงา...
NASA
6 ธันวาคม 2021

6 ธันวาคม 2006 – NASA เผยภาพถ่ายร่องรอยน้ำบนดาวอังคาร

6 ธันวาคม 2006 องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ หรือ NASA เปิดเผยภาพถ่ายภูมิประเทศบนดาวอังคาร บริเวณเซนทูรี มองเตส (Centauri Montes) ที่ดูคล้ายกับว่าเคยมีน้ำไหลผ่านบริเวณนั้นมาก่อนเมื่อหลายสิบปีที่แล้ว และเป็นหลักฐานที่ชี้ได้ว่าเคยมีน้ำอยู่บนดาวอังคารในอดีต    ผลการศึกษาดังกล่าวได้ตีพิมพ์ลงในวารสาร Science โดยไมเคิล มาลิน ซึ่งภาพ...
2 ธันวาคม 2021

สดร. ชวนคนไทยชม 9 ปรากฏการณ์ท้องฟ้าส่งท้ายปี 2564

วันนี้ (2 ธันวาคม) สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กเพจ ‘NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ’ ชวนประชาชนรับชมปรากฏการณ์ท้องฟ้าน่าติดตามส่งท้ายปี 2564    โดยตลอดเดือนธันวาคมนี้ จะมีปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ที่น่าสนใจบนท้องฟ้าให้ติดตามกันจำนวนมาก แต่มี 9 ปรากฏการณ์ที่โดดเด่นและน่าสนใจ มีดังนี้ ...
Laika
3 พฤศจิกายน 2021

3 พฤศจิกายน 1957 – ไลก้า สุนัขตัวแรกของโลกถูกส่งขึ้นสู่อวกาศ

สหภาพโซเวียตได้ปล่อยดาวเทียมสปุตนิก 2 ในวันท่ี 3 พฤศจิกายน 1957 ซึ่งในครั้งนี้ได้ส่งสิ่งมีชีวิตขึ้นไปด้วย นั่นคือสุนัขชื่อ ไลก้า นับเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่ได้ขึ้นไปสำรวจอวกาศ...
Oumuamua ข่าวประหลาดจากต่างดาวที่ท้าทาย ‘ความบ้า’ และ ‘ความกล้า’ ในวงการวิทยาศาสตร์
9 กุมภาพันธ์ 2021

Oumuamua ข่าวประหลาดจากต่างดาวที่ท้าทาย ‘ความบ้า’ และ ‘ความกล้า’ ในวงการวิทยาศาสตร์

เมื่อเร็วๆ นี้ นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์จากฮาร์วาร์ดคนหนึ่งให้สัมภาษณ์เรื่องที่น่าสนใจมาก นั่นคือเป็นไปได้อย่างยิ่ง - ที่เมื่อไม่กี่ปีก่อน จะมี ‘ยานอวกาศ’ จากกาแล็กซีอื่นผ่านเข้ามาในระบบสุริยะของเรา   นี่ไม่ใช่เรื่องล้อเล่น เพราะเขาเขียนร่างบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร Astrophysical Journal Letters กันเลยทีเดียว (ดูรายละเอียดได้ที่นี่...


Close Advertising