×

ดอกเบี้ยนโยบาย

6 พฤศจิกายน 2019

กนง. มีมติ 5:2 ลดดอกเบี้ยนโยบายเหลือ 1.25% ต่ำสุดเป็นประวัติการณ์

เกิดอะไรขึ้น: บ่ายวันนี้ (6 พฤศจิกายน) ที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ 5 ต่อ 2 ให้ลดอัตราดอกเบี้ยลง 0.25% อยู่ที่ระดับ 1.25% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ และเป็นระดับใกล้เคียงกับวิกฤตการเงินโลกหรือวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์เมื่อปี 2551    โดยการปรับลดดอกเบี้ยครั้งนี้มีสาเหตุมาจากการมองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวต่ำกว...
6 พฤศจิกายน 2019

แบงก์ชาติลดดอกเบี้ยเหลือ 1.25% รับเศรษฐกิจชะลอ พ่วงปรับ 4 เกณฑ์ ลดบาทแข็ง

วันนี้ (6 พฤศจิกายน) คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% จากระดับ 1.50% สู่ระดับ 1.25% ต่อปี โดยให้มีผลทันที เนื่องจากเห็นว่า เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ ขณะที่เงินเฟ้อยังเคลื่อนไหวต่ำกว่ากรอบเป้าหมาย   ทิตนันทิ์ มัลลิกะมาส เลขานุการ กนง. แถล...
นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ
25 ตุลาคม 2019

ตรึงดอกเบี้ย-เดินหน้า QE สรุปผลประชุม ECB นักวิเคราะห์ KTBST คาดยูโรโซนอาจลดดอกเบี้ยกระตุ้นเศรษฐกิจต่อเนื่องในปี 2020

การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) เมื่อวันที่ 24 ตุลาคมเป็นการประชุมครั้งสุดท้ายของ มาริโอ ดรากี ในฐานะประธาน ECB ซึ่งเป็นไปตามการคาดการณ์ของตลาด เมื่อ ECB มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ได้แก่ อัตราดอกเบี้ยรีไฟแนนซ์ที่ระดับ 0%, อัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ธนาคารพาณิชย์ฝากไว้กับ ECB ที่ระดับ -0.50% และคงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ระดับ 0.25% &n...
16 ตุลาคม 2019

ASP แนะนำ 5 หุ้นปันผลเด่น รับข่าว IMF ส่งสัญญาณเศรษฐกิจโลกขาลง

เศรษฐกิจไทยกำลังเจอปัญหาใหญ่ ทั้งเงินบาทแข็งค่า การส่งออกติดลบ เศรษฐกิจโลกชะลอตัวลง จนล่าสุด หน่วยงานรัฐและเอกชนหลายแห่งเริ่มปรับลดประมาณการเศรษฐกิจไทย ส่วนใหญ่มองว่า GDP ปีนี้จะเติบโตไม่ถึง 3% ทำไมสถานการณ์นี้ยังมีคนแนะนำให้ซื้อหุ้นไทย?    บล.เอเซีย พลัส แนะนำ 5 หุ้นไทยน่าสนใจรับช่วงทั่วโลก กระตุ้นเศรษฐกิจ ทำนโยบายการเงินผ่อนคลาย&n...
16 ตุลาคม 2019

เกาหลีใต้ลดดอกเบี้ยนโยบายอีก 0.25% เตือนเศรษฐกิจอาจโตไม่ตามเป้า เหตุส่งออกทรุด

ธนาคารกลางเกาหลีใต้ (BOK) มีมติปรับลดดอกเบี้ยนโยบายครั้งที่ 2 ในปีนี้ ลง 0.25% สู่ระดับ 1.25% ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ พร้อมเตือนว่าอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจเกาหลีใต้อาจอ่อนแอกว่าที่คาดการณ์ไว้ สืบเนื่องจากความขัดแย้งทางการค้าและการชะลอตัวของเศรษฐกิจทั่วโลกที่ฉุดยอดการส่งออกหดตัวลงอย่างต่อเนื่อง   BOK ระบุว่า เศรษฐกิจเกาหลีใต้...
26 กันยายน 2019

กนง. คงดอกเบี้ยนโยบาย กระทบตลาดหุ้นอย่างไร

เกิดอะไรขึ้น: วานนี้ (25 กันยายน) คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติเอกฉันท์คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ 1.50% โดย กนง. มีความเห็นว่าเศรษฐกิจไทยขยายตัวต่ำกว่าที่ประเมินไว้ อันเนื่องมาจากการส่งออกที่หดตัวตามประเทศคู่ค้า และตามปริมาณการค้าโลกที่ชะลอลงจากปัญหาความขัดแย้งทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน สำหรับการบริโภคภาคเอกชนมีแนวโน้มชะลอตัวลงจากรายไ...
ดอกเบี้ยนโยบาย
25 กันยายน 2019

กนง. มีมติคงดอกเบี้ยนโยบาย 1.50% ต่อปี ชี้เศรษฐกิจไทยโตต่ำกว่าคาด

ทิตนันทิ์ มัลลิกะมาส เลขานุการคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) แถลงผลการประชุม กนง. ในวันที่ 25 กันยายน 2562 คณะกรรมการฯ มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ 1.50% ต่อปี    โดยคณะกรรมการฯ ประเมินว่าเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวต่ำกว่าที่ประเมินไว้จากหลายด้าน เช่น ภาคท่องเที่ยวมีแนวโน้มชะลอตัว, การส่งออกที่ลดลง, อุปสงค์ในประเท...
ดอกเบี้ยนโยบาย
20 กันยายน 2019

พาเหรดดอกเบี้ยนโยบายขาลง เมื่อแบงก์ชาติทั่วโลกปรับลดกระทบไทยอย่างไร?

ตั้งแต่ต้นปี 2562 ทิศทางดอกเบี้ยนโยบายทั่วโลกขยับเป็นขาลงชัดเจนขึ้น ล่าสุดธนาคารกลางสหรัฐฯ ก็ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงมาด้วย ว่าแต่จะมีผลกระทบต่อประเทศไทย ค่าเงินบาทอย่างไร?   ทำไมธนาคารกลางทั่วโลกต้องลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย จะช่วยเศรษฐกิจได้จริงหรือ?  ปัจจุบันในเดือนสิงหาคมปี 2563 ธนาคารกลางของหลายประเทศปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย...
ดอกเบี้ยนโยบาย
20 กันยายน 2019

Fed หั่นดอกเบี้ยนโยบายตามคาด ผลกระทบยังไม่มาก แต่พลาดไม่ได้ต้องจับตา

หลังจากเกิดวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ในปี 2008 Fed ได้ปรับลดดอกเบี้ยลงมาอยู่ที่ระดับ 0-0.25% และได้ปั๊มมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ หรือ QE เข้าสู่ระบบจนทำให้งบดุลของ Fed ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และทำให้เศรษฐกิจโลกขยายตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน    เมื่อเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัวดีขึ้น พอถึงจุดหนึ่งก็เริ่มที่จะต้องมีการปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบาย...
ดอกเบี้ยนโยบาย
16 สิงหาคม 2019

เทียบดอกเบี้ยนโยบายธนาคารกลางทั่วโลก 2019 ใครลดดอกเบี้ยแล้วบ้าง

หลังธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ลดอัตราดอกเบี้ยในเดือนกรกฎาคม ซึ่งเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 2008 พร้อมกับกระแสคาดการณ์ในตลาดว่า Fed อาจดำเนินการอีกอย่างน้อย 1 ครั้งในปีนี้ ทำให้ธนาคารกลางทั่วโลกทยอยปรับดอกเบี้ยตามเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ท่ามกลางภาวะชะลอตัวทางเศรษฐกิจทั่วโลก ซึ่งเมื่อรวมกับแบงก์ชาติหลายประเทศที่ขยับดอกเบี้ยไปก่อนหน้านั้น ส่งผลให้ตลาดมองว่าเว...


Close Advertising
X