×

ดวงอาทิตย์

15 ตุลาคม 2024

สำรวจ ‘จุดมืดของดวงอาทิตย์’ ผ่านชัตเตอร์ของช่างภาพ THE STANDARD

วันนี้ (15 ตุลาคม) ช่างภาพทีมข่าว THE STANDARD เก็บภาพบรรยากาศจุดมืดของดวงอาทิตย์ (Sunspot) เมื่อช่วงเย็นที่ผ่านมา บริเวณสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า ถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย    ข้อมูลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระบุถึงจุดมืดของดวงอาทิตย์ว่า เป็นบริเวณที่มีความเข้มของสนามแม่เหล็กมากบนผิวของดวงอาทิตย์ การที่จุดมืดด...
11 ตุลาคม 2024

NOAA แจ้งเตือนพายุแม่เหล็กโลกระดับ G4 หลังดวงอาทิตย์พ่นมวลโคโรนา เดินทางมาถึงโลก

ศูนย์พยากรณ์สภาพอวกาศของ NOAA ออกแจ้งเตือนพายุแม่เหล็กโลก จากการพ่นมวลโคโรนาของดวงอาทิตย์ระดับ G4 ซึ่งเดินทางมาถึงโลกเมื่อคืนวันที่ 10 ตุลาคมที่ผ่านมา   อย่างไรก็ตาม พายุแม่เหล็กโลกดังกล่าวไม่เป็นอันตรายต่อชีวิต และเกิดขึ้นบ่อยครั้งในช่วงมีกิจกรรมทางธรรมชาติบนดวงอาทิตย์มากในช่วงวัฏจักรสุริยะที่ 25 และไม่ส่งผลกระทบต่อผู้คนในไทยโดยตรง พร้อ...
วันครีษมายัน
21 มิถุนายน 2024

วันนี้ ‘วันครีษมายัน’ กลางวันยาวนานที่สุดในรอบปี

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) หรือ NARIT กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยแพร่ข้อมูลว่า วันนี้ (21 มิถุนายน) เป็น ‘วันครีษมายัน’ (Summer Solstice) ซึ่งช่วงเวลากลางวันยาวที่สุดในรอบปี ดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด นับเป็นวันที่ประเทศทาง...
ดวงอาทิตย์ตั้งฉาก
26 เมษายน 2024

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ฯ ระบุ 26 เม.ย. นี้ ดวงอาทิตย์ตั้งฉาก กทม. ครั้งแรกของปี แต่อาจไม่ใช่วันที่ร้อนที่สุด

วันนี้ (26 เมษายน) เพจเฟซบุ๊ก ‘NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ’ โพสต์ข้อความปรากฏการณ์ธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นเฉพาะวันนี้ โดยระบุว่า    วันนี้! 26 เมษายน 2567 ชาวกรุงเตรียมไร้เงาดวงอาทิตย์ตั้งฉาก กทม. ครั้งแรกของปี เวลา 12.16 น.   ขณะดวงอาทิตย์ตั้งฉากกับพื้นโลก หากสังเกตวัตถุกลางแดดจะดูเสมือนไร้เงา เนื่องจากเงาของวัตถุจะ...
ดวงอาทิตย์
24 เมษายน 2024

ดวงอาทิตย์ตั้งฉากกรุงเทพฯ ครั้งแรกของปี 2567 ชาวกรุงเตรียมไร้เงา 26 เมษายนนี้

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยว่า ดวงอาทิตย์จะโคจรมาอยู่ในตำแหน่งตั้งฉากกับพื้นที่กรุงเทพมหานครเป็นครั้งแรกของปี 2567 ในวันที่ 26 เมษายนนี้ เวลาประมาณ 12.16 น. โดยในเวลาดังกล่าวหากสังเกตวัตถุที่อยู่กลางแดดจะดูเสมือนไร้เงา เนื่องจากเงาจะตกอยู่ใต้วัตถุพอดี   ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ ...
9 เมษายน 2024

ชมภาพสุริยุปราคาเต็มดวงแถบอเมริกาเหนือ NARIT คาด คนไทยได้ชมเดือนสิงหาคม 2027

ผู้คนจำนวนมากในแถบทวีปอเมริกาเหนือตั้งตารอชมปรากฏการณ์ ‘สุริยุปราคาเต็มดวง’ (Total Solar Eclipse) เมื่อวานนี้ (8 เมษายน) ซึ่งไม่สามารถสังเกตเห็นได้จากประเทศไทย    สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NARIT ระบุว่า แนวคราสเต็มดวงได้พาดผ่านบริเวณทวีปอเมริกาเหนือ บริเวณประเทศเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา และแคนาดา เริ่มจากมหาสมุทร...
ดวงอาทิตย์​เทียม
11 กุมภาพันธ์ 2024

ดวงอาทิตย์​เทียม​ในอังกฤษ สร้างสถิติพลังงานนิวเคลียร์ฟิวชันครั้งใหม่ เทียบเท่าจ่ายพลังงาน​หล่อเลี้ยง​บ้าน 12,000 หลัง นาน 5 วินาที

เตาปฏิกรณ์​แบบหลอมรวมธาตุชนิดโทคาแมคในโครงการ ‘Joint European Torus (JET)’ ที่ศูนย์พลังงานฟิวชันคัลแฮม ในอ็อกซ์ฟอร์ดเชียร์ของอังกฤษ ทำลายสถิติด้านพลังงานนิวเคลียร์ฟิวชันครั้งใหม่ โดยสามารถสร้างพลัง​งานได้ถึง 69.26​ เมกะจูลจากมวลต้นทุนเพียง 0.21 มิลลิกรัม ทำลายสถิติ​ 59 เมกะจูลที่ทำได้ในปี 2022 ไปเรียบร้อย​   พลังงานจำนวนนี้เปรียบเทียบ​แล...
3 มกราคม 2024

โลกโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดในรอบปี 2024

วันนี้ (3 มกราคม) เวลา 07.38 น. โลกโคจรเข้าสู่จุด Perihelion หรือจุดใกล้สุดของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ในรอบปี 2024 ด้วยระยะห่างประมาณ 147,100,632 กิโลเมตร ระหว่างแกนกลางของโลกและดวงอาทิตย์   เนื่องจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีเฉกเช่นวัตถุต่างๆ ในระบบสุริยะ ทำให้ในหนึ่งคาบการโคจรจะมีช่วงที่โลกเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด ซึ่งมักเกิดในช่วงต้นเด...
17 พฤศจิกายน 2023

NASA ยุติการสื่อสารกับยานบนดาวอังคาร 2 สัปดาห์ เนื่องจากอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์

ระหว่างวันที่ 11-25 พฤศจิกายนนี้ ยานสำรวจทั้งในวงโคจรและบนพื้นผิวดาวอังคาร จะหยุดการติดต่อสื่อสารกับทีมภารกิจบนโลกของเรา จากปรากฏการณ์ ‘Mars Solar Conjunction’ ที่ดาวอังคารจะอยู่อีกฟากหนึ่งของระบบสุริยะเมื่อสังเกตจากโลก   NASA ออกมายืนยันว่าพวกเขาได้หยุดส่งคำสั่งไปยังยานอวกาศทั้งหมดบนดาวอังคารในช่วงนี้ ซึ่งเป็นเหตุการณ์ปกติที่เกิดขึ้นทุก...
ภารกิจสำรวจดวงอาทิตย์
2 กันยายน 2023

‘อาทิตยา’ ภารกิจสำรวจดวงอาทิตย์ครั้งแรกของอินเดีย

เพียงไม่กี่สัปดาห์หลังการลงจอดบนดวงจันทร์ได้สำเร็จเป็นครั้งแรก องค์การวิจัยอวกาศอินเดีย หรือ ISRO ได้ส่งอีกหนึ่งภารกิจขึ้นสู่อวกาศอีกครั้ง โดยรอบนี้มีเป้าหมายสำคัญคือ การศึกษาดวงอาทิตย์ ดาวฤกษ์หนึ่งเดียวในระบบสุริยะ   ยานลำนี้มีชื่อว่า ‘อาทิตยา-แอล 1’ ซึ่งคำว่า อาทิตยา มาจากภาษาสันสกฤตที่แปลว่าดวงอาทิตย์ และ L1 หมายถึงจุดลากรานจ์ที่ 1 ระ...


Close Advertising
X
Close Advertising