×

กล้องโทรทรรศน์

ดาวยูเรนัสบังดาวฤกษ์
20 พฤศจิกายน 2024

NARIT ใช้กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติสังเกตดาวยูเรนัสบังดาวฤกษ์ ร่วมกับหอดูดาวทั่วโลก

NARIT ใช้กล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาวแห่งชาติบนดอยอินทนนท์ ร่วมสังเกตดาวยูเรนัสบดบังดาวฤกษ์ ร่วมกับทีมวิจัยของ NASA และหอดูดาวนานาประเทศ   เช้ามืดวันที่ 13 พฤศจิกายนที่ผ่านมา นักดาราศาสตร์ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตรที่ติดตั้งอยู่ ณ หอดูดาวแห่งชาติ บนดอยอินทนนท์ จังหวั...
NEOWISE
8 พฤศจิกายน 2024

กล้องโทรทรรศน์อวกาศ NEOWISE ตกกลับมาเผาไหม้ในบรรยากาศโลกอย่างปลอดภัย

กล้องโทรทรรศน์อวกาศ NEOWISE ของ NASA กลับมาเผาไหม้ในบรรยากาศโลกอย่างปลอดภัยเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน ปิดฉากภารกิจการสำรวจจักรวาลและพิทักษ์โลกนาน 15 ปีลงอย่างเป็นทางการ   ทีมภารกิจส่งคำสั่งยุติการทำงานด้านวิทยาศาสตร์ของกล้องเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม โดยภาพถ่ายที่ 26,886,704 ของ NEOWISE เผยให้เห็นบางส่วนของกลุ่มดาวเตาหลอมบริเวณซีกฟ้าใต้ และเป็น...
NASA
11 สิงหาคม 2024

NASA ยุติการทำงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศ NEOWISE ปิดฉากภารกิจกล้องพิทักษ์โลก

NASA ประกาศยุติการทำงานกล้อง NEOWISE สิ้นสุดภารกิจสำรวจจักรวาล และการตรวจหาดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกนานกว่า 15 ปีลงอย่างเป็นทางการ   กล้องโทรทรรศน์อวกาศที่มีชื่อเดิมว่า WISE หรือ Wide-field Infrared Survey Explorer ถูกนำส่งขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2009 พร้อมภารกิจเดิมในการบันทึกภาพท้องฟ้ามุมกว้างในช่วงคลื่นอินฟราเรด ก่อนสิ้นสุดภารก...
ประชาชนที่มาดูการปล่อยยานลงจอดดวงจันทร์ของญี่ปุ่น
7 กันยายน 2023

ญี่ปุ่นส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศ และยานลงจอดดวงจันทร์ เดินทางสู่อวกาศได้สำเร็จ

เมื่อเช้าวันที่ 7 กันยายน ญี่ปุ่นได้ปล่อยจรวด H-IIA ขึ้นจากฐานปล่อยที่ศูนย์อวกาศทาเนกาจิมะ โดยมีกล้องโทรทรรศน์อวกาศ XRISM และยานลงสำรวจดวงจันทร์ SLIM เป็นสองภารกิจที่ร่วมเดินทางขึ้นสู่อวกาศ   ยานสำรวจทั้งสองมีภารกิจที่แตกต่างกัน โดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศ XRISM หรือ X-ray Imaging and Spectroscopy Mission มีเป้าหมายเพื่อศึกษาจักรวาลในช่วงรังส...
1 กันยายน 2023

กล้องโทรทรรศน์ในญี่ปุ่นบันทึกวินาทีดาวพฤหัสบดีถูกชนโดยวัตถุบางอย่าง

เมื่อเวลา 23.45 น. ของคืนวันที่ 28 สิงหาคม กล้องโทรทรรศน์หลายแห่งในญี่ปุ่นสามารถบันทึกภาพดาวพฤหัสบดี ขณะถูกวัตถุบางอย่างพุ่งชนเข้ากับผิวดาว   อย่างไรก็ตาม วัตถุดังกล่าวอาจเป็นแค่ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง หรือเศษอุกกาบาต ที่พุ่งชนกับตัวดาวอยู่บ่อยครั้ง จากแรงโน้มถ่วงอันมหาศาลของดาวพฤหัสบดี ที่ดึงดูดให้วัตถุต่างๆ มาพุ่งชนได้   ในอดี...


Close Advertising
X