×

กระบวนการยุติธรรมไทย

23 เมษายน 2018

ทนายจูน ผู้หญิงกล้าหาญสากล ปี 2018 กับความรู้สึกที่ ‘ยังไม่หมดหวัง’ ในระบบยุติธรรมไทย

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่มีการจัดตั้งศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนขึ้น ภายหลังการรัฐประหารเมื่อปี 2557 ชื่อของ ศิริกาญจน์ เจริญศิริ หรือ ทนายจูน เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น เธอเป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มทนายความที่ให้ความช่วยเหลือทางด้านกฎหมายแก่นักกิจกรรมและประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการรัฐประหาร ถูกละเมิด ถูกข่มขู่คุกคาม และถูกดำเนินคดีทางอา...
12 มีนาคม 2018

14 ปีที่ สมชาย นีละไพจิตร หายไป 14 ปีที่ไร้หลุมศพให้รำลึก

เช้าวันนี้ที่ลานกิจกรรมคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ภาพของ ทนายสมชาย นีละไพจิตร ถูกประคองถือไว้ด้วยมือของ นางอังคณา นีละไพจิตร ผู้เป็นภรรยาและคู่ชีวิตอย่างหนักแน่น ผ่านแววตาที่ยังคงตั้งคำถามต่อสิ่งที่เกิดขึ้น   ขณะที่ นางสาวประทับจิต นีละไพจิตร บุตรสาวของสมชาย เอ่ยถึงการทำกิจกรรมในวันนี้เพื่อต้องการรำลึกถึงพ่อผู้จากไป...
27 กุมภาพันธ์ 2018

เริ่มใช้กำไลข้อเท้าอิเล็กทรอนิกส์ 1 มี.ค. นี้ ป้องกันผู้ต้องหาหลบหนีหลังได้ปล่อยชั่วคราว

ความพยายามในการแก้ปัญหาผู้ต้องหาที่ได้รับการปล่อยชั่วคราว หรือได้รับการประกันตัวแล้วมักหลบหนีคดี ทำให้มีปัญหาต่อการพิจารณาคดีของศาล และเพื่อป้องกันปัญหาดังกล่าว ได้มีการออกมาตรการเพื่อติดตามตัวผู้ต้องหา   ล่าสุด ได้มีการนำเอาอุปกรณ์ที่เรียกว่า กำไลข้อเท้าอิเล็กทรอนิกส์ หรือ EM ซึ่งย่อมาจากคำว่า Electronic Monitoring มาใช้กับผู้ต้องหา เพ...
6 ธันวาคม 2017

เข้าใจคณิตศาสตร์ในกฎหมายอาญา ทำไมโทษจำคุก 1 ปี ไม่เท่ากับจำคุก 12 เดือน

อ่านข่าวแล้วเคยเจอพาดหัวหรือการรายงานเนื้อหาว่า ตัดสินจำคุก 10 ปี 12 เดือน หรือ 26 ปี 12 เดือน หรือ 18 ปี 24 เดือน แบบนี้กันไหม ขอตอบแทนว่า…เคยแน่ๆ   และมักจะมีคำถามคาใจให้หงุดหงิดว่า เอ๊ะ! ทำไมไม่นับจำนวนเดือนเป็นรายปีให้มันรู้แล้วรู้รอดไป ตามความเข้าใจที่เราเคยเรียนหนังสือกันมาที่ 1 ปี ก็มี 12 เดือนไม่ใช่หรือ   เพราะฉะนั้น 1...


Close Advertising
X