×

กิจการอวกาศ

19 กุมภาพันธ์ 2024

ยาน Odysseus ถ่ายภาพโลกทั้งใบ ก่อนเดินทางไปดวงจันทร์

บริษัท Intuitive Machines เผยภาพถ่ายโลกทั้งใบจากกล้องบนยานลงจอด Nova-C ชื่อ ‘Odysseus’ ที่กำลังมุ่งหน้าไปลงจอดบนดวงจันทร์ ซึ่งเป็นความพยายามลงจอดบนดวงจันทร์ครั้งแรกของสหรัฐอเมริกา นับตั้งแต่ภารกิจอพอลโล 17 เมื่อเดือนธันวาคม 1972   หลังเดินทางขึ้นจากฐานปล่อย 39A ของศูนย์อวกาศเคนเนดี ไปกับจรวด Falcon 9 ของบริษัท SpaceX เมื่อวันที่ 15 กุมภา...
8 กุมภาพันธ์ 2024

โอเล็ก โคโนเนนโก นักบินอวกาศรัสเซีย ทำลายสถิติเวลาที่อาศัยอยู่บนอวกาศยาวนานที่สุด

เมื่อเช้าวันที่ 4 กุมภาพันธ์ โอเล็ก โคโนเนนโก นักบินอวกาศชาวรัสเซีย กลายเป็นเจ้าของสถิติผู้อยู่อาศัยบนอวกาศนานที่สุดในประวัติศาสตร์ ด้วยระยะเวลามากกว่า 880 วันในวงโคจร จากการขึ้นบินทั้งสิ้น 5 ครั้ง   โคโนเนนโกในวัย 59 ปี กำลังปฏิบัติงานบนสถานีอวกาศนานาชาติ ในภารกิจ Expedition 69-71 ตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน 2023 โดยเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจร...
1 กุมภาพันธ์ 2024

นักวิจัยไทยพบ 13 กาแล็กซีในยุคแรกเริ่มของเอกภพ จากข้อมูลกล้องเจมส์ เว็บบ์

ดร.ณิชา ลีโทชวลิต นักวิจัยของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT ได้นำทีมคณะนักดาราศาสตร์นานาประเทศตรวจพบกาแล็กซีมวลน้อยเพิ่มอีก 13 แห่งที่มีอยู่ตั้งแต่เอกภพ มีอายุเพียง 550-700 ล้านปี   งานวิจัยดังกล่าวได้ศึกษาข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ภายใต้โครงการวิจัย GLASS-JWST-ERS เพื่อตรวจหากาแล็กซียุคแรกเริ่มของเอกภพ ที่กำเนิด...
25 มกราคม 2024

JAXA เผยภาพยาน SLIM พบว่าลงจอดบนดวงจันทร์แบบหัวปักพื้น

องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น หรือ JAXA เผยภาพแรกของยาน SLIM บนพื้นผิวดวงจันทร์ พบว่ายานลงจอดในท่าหัวปักพื้น ผิดจากภารกิจที่ถูกวางไว้   ยาน SLIM หรือ Smart Lander for Investigating Moon เดินทางไปลงจอดบนดวงจันทร์ได้สำเร็จเมื่อคืนวันที่ 19 มกราคม กลายเป็นชาติที่ 5 ที่สามารถนำยานทำ Soft Landing หรือลงจอดอย่างนุ่มนวลบนพื้นผิวได้ อย่างไรก็ตาม ข้อม...
20 มกราคม 2024

NARIT จับภาพสุดท้ายของยาน Peregrine ก่อนสิ้นสุดภารกิจด้วยการตกกลับสู่โลก

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT เผยภาพสุดท้ายของยาน Peregrine ที่ล้มเหลวในการเดินทางไปลงจอดบนดวงจันทร์ และกลับมาเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศโลก เมื่อเช้ามืดวันที่ 19 มกราคม ซึ่งเป็นวันเดียวกับที่ภารกิจ SLIM ของญี่ปุ่นลงจอดบนดวงจันทร์ได้สำเร็จ แต่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่ค่อนข้างจำกัด จากปัญหาการสร้างพลังงานผ่านแผงโซลาร์เซลล์   ยาน P...
19 มกราคม 2024

พบวัตถุปริศนาในทางช้างเผือก อาจเป็นดาวนิวตรอนที่ใหญ่ที่สุดหรือหลุมดำที่เล็กที่สุด

คณะนักดาราศาสตร์นานาชาติพบวัตถุปริศนาในทางช้างเผือก ที่อาจเป็นดาวนิวตรอนที่มีมวลมากสุดหรือเป็นหลุมดำขนาดเล็กที่สุด   การค้นพบครั้งนี้เกิดขึ้นกับวัตถุที่โคจรอยู่รอบพัลซาร์ที่มีอัตราการกะพริบในระดับมิลลิวินาที (Millisecond Pulsar) ชื่อ PSR J0514-4002E ในกระจุกดาวทรงกลม NGC 1851 ซึ่งอยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 40,000 ปีแสง   วัตถุที่ถ...
14 มกราคม 2024

นักดาราศาสตร์พบสัญญาณของออโรราบนดาวแคระน้ำตาลที่โคจรโดดเดี่ยวในเอกภพ

นักดาราศาสตร์อาจพบการเกิดแสงออโรราบนดาวแคระน้ำตาล (Brown Dwarf) ที่โคจรอย่างโดดเดี่ยวในเอกภพ จากข้อมูลล่าสุดของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   บนดาวแคระน้ำตาล W1935 ที่มีขนาดและมวลใหญ่กว่าดาวพฤหัสบดี แต่ยังไม่มากพอที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่ใจกลาง นักดาราศาสตร์ได้พบการแผ่รังสีในย่านอินฟราเรดจากมีเทน เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้...
10 มกราคม 2024

NASA เลื่อนภารกิจอาร์ทีมิส 2 ส่งมนุษย์ไปดวงจันทร์ เป็นเดือนกันยายน 2025

เป็นที่ยืนยันแล้วว่าอาร์ทีมิส 2 ภารกิจการส่งมนุษย์เดินทางกลับไปดวงจันทร์อีกครั้ง จะไม่เกิดขึ้นในปลายปีนี้ตามกำหนดการเดิม หลังจาก NASA ได้แถลงช่วงเวลาภารกิจใหม่เมื่อเช้ามืดวันนี้ (10 มกราคม)   แผนการล่าสุดระบุว่า ภารกิจอาร์ทีมิส 2 จะเกิดขึ้นในเดือนกันยายน 2025 จากกำหนดเดิมที่วางไว้เดือนพฤศจิกายน 2024 ด้านอาร์ทีมิส 3 ภารกิจลงจอดบริเวณขั้วใ...
สถานีอวกาศดวงจันทร์
9 มกราคม 2024

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์จับมือกับ NASA ร่วมสร้างโมดูลแอร์ล็อกให้สถานีอวกาศดวงจันทร์

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์วางแผนสร้างโมดูลแอร์ล็อกให้กับ Lunar Gateway สถานีอวกาศในวงโคจรรอบดวงจันทร์แห่งแรก พร้อมเตรียมส่งนักบินอวกาศเดินทางไปปฏิบัติภารกิจร่วมกับโครงการอาร์ทีมิสของ NASA   ศูนย์อวกาศโมฮัมเหม็ด บิน ราชิด หรือ MBRSC ของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ได้ลงนามความร่วมมือกับ NASA ที่ครอบคลุมถึงการสร้างโมดูลแอร์ล็อกสำหรับนักบินอวกาศและการทดล...
16 ธันวาคม 2023

วิศวกร NASA กำลังแก้ปัญหากับคอมพิวเตอร์ยาน Voyager 1 ที่สุดขอบระบบสุริยะ

ยานอวกาศที่เดินทางไปไกลจากโลกที่สุดในประวัติศาสตร์ กำลังเผชิญปัญหากับหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์บนยาน ที่ทีมวิศวกรต้องหาทางแก้ปัญหาจากระยะห่างไม่น้อยกว่า 24,000 ล้านกิโลเมตร   NASA รายงานผ่านเว็บไซต์ว่า ยาน Voyager 1 ยังสามารถรับข้อมูลจากบนโลก และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ตามปกติ แต่มีการพบปัญหากับข้อมูลที่ยานอายุมากกว่า 47 ปีส่งกลับมาโลก ...


Close Advertising
X