×

กฎหมายสมรสเท่าเทียม

สภา ผ่าน กฎหมาย สมรสเท่าเทียม
27 มีนาคม 2024

ปรบมือก้องสภา ‘ผู้แทนราษฎร’ ผ่าน กฎหมาย สมรสเท่าเทียม

วันนี้ (27 มีนาคม) ที่รัฐสภา ในการประชุมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้วาระพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือกฎหมายสมรสเท่าเทียม ในวาระ 2 รายมาตรา ทั้งสิ้น 68 มาตรา โดยใช้เวลาในการพิจารณาราว 5 ชั่วโมง   ก่อนที่สภาผู้แทนราษฎรมีมติเสียงข้างมาก 400 เสียง ต่อ 10 เสียง ให้ความเห็นชอบร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม โดยหลังจ...
27 มีนาคม 2024

สภาโบกสะบัดธงสีรุ้ง ก่อนร่วมกันพิจารณากฎหมายสมรสเท่าเทียมวาระ 2 ‘วันนอร์’ นั่งเป็นประธาน

วันนี้ (27 มีนาคม) ที่รัฐสภา ในการประชุมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้วาระพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือกฎหมายสมรสเท่าเทียม โดยมี วันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานรัฐสภา เป็นประธานในการประชุม   กฎหมายสมรสเท่าเทียมนั้นผ่านการพิจารณาในวาระ 2 รายมาตราในชั้นกรรมาธิการฯ ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว โดยใ...
ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม
12 มีนาคม 2024

เปิดรายละเอียดร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม หลังผ่านชั้นกรรมาธิการฯ

หลังสภารับหลักการร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือที่รู้จักกันในนามของกฎหมายสมรสเท่าเทียมทั้ง 4 ฉบับ เมื่อ 21 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมา เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้มีความหลากหลายทางเพศสามารถสมรสได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย    ล่าสุดการพิจารณาในวาระ 2 รายมาตราในชั้นกรรมาธิการฯ ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว และคาดว่าจะเข้าสู่การพิจ...
รศ.ดร.อานนท์ มาเม้า
4 มีนาคม 2024

‘สมรสเท่าเทียม’ ในความเงียบ เมื่อสังคมไปไกล แต่กฎหมายยังช้า

“...ในเรื่องการสมรส ตามจารีตประเพณีที่มีมาช้านาน วัตถุประสงค์ของการสมรสคือการที่ชายและหญิงอยู่กินกันฉันสามีภริยาเพื่อสร้างสถาบันครอบครัว มีบุตร ดำรงเผ่าพันธุ์ตามธรรมชาติ และมีการสืบทอดทรัพย์สิน มรดก มีการส่งต่อความผูกพันกันระหว่างพ่อ แม่ พี่ น้อง ลุง ป้า น้า อา ซึ่งการสมรสในระหว่างบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศอาจไม่สามารถสร้างความผูกพันอันละเอียดอ่อ...
29 กุมภาพันธ์ 2024

ปักหมุด 1 มิ.ย. Bangkok Pride Festival 2024 ฉลองความหลากหลายทางเพศ

วันนี้ (29 กุมภาพันธ์) กรุงเทพมหานคร ร่วมกับนฤมิตไพรด์ แถลงข่าวจัด ‘Bangkok Pride Festival 2024’ ภายใต้แนวคิด Celebration of Love นับถอยหลังสู่การใช้กฎหมายสมรสเท่าเทียมก่อนสิ้นปี 2567 โดยในปีนี้การร่วมโบกธงสีรุ้งจะเป็นสัญลักษณ์ของการสนับสนุนสิทธิความหลากหลายทางเพศจากทุกภาคส่วน และเชิญชวนกลุ่ม LGBTQIA+ จากทั่วทุกมุมโลกให้มาเยือนประเทศไทย เพื่อนำเสนอ...
20 กุมภาพันธ์ 2024

นายกฯ อ้อนวอน กนง. เร่งถกลดดอกเบี้ย-ชี้ยิ่งลักษณ์กลับไทยทุกอย่างเป็นไปตามกฎหมาย

วันนี้ (20 กุมภาพันธ์) ที่ทำเนียบรัฐบาล เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ถึงกรณีโพสต์ถึง ดนุชา พิชยนันท์ เลขาสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เห็นด้วยที่ควรจะมีการปรับลดดอกเบี้ย หลังสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแถลง GDP ไตรมาส 4 ปี 2566 เติบโตได้เพียง 1.7% และตลอดทั้งปี 2566...
14 กุมภาพันธ์ 2024

‘แม้ไม่มีผลทางกฎหมาย แต่เพื่อยืนยันสิทธิ’ คู่รัก LGBTQIA+ เชียงใหม่ ‘จดแจ้งสมรสเท่าเทียม’

วันนี้ (14 กุมภาพันธ์) ช่างภาพข่าว THE STANDARD เดินทางไปยังที่ว่าการอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเก็บภาพบรรยากาศคู่รักที่มีความหลากหลายทางเพศจำนวน 12 คู่ เดินทางมาขอ ‘จดแจ้งสมรสเท่าเทียม’ เพื่อแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ พร้อมเร่งรัดให้มีการออกกฎหมายสมรสเท่าเทียม   สำหรับกิจกรรมในวันนี้ มีคู่รักที่มีความหลากหลายทางเพศเข้าร่วมจำนวน...
20 มกราคม 2024

ชมคลิป: สมรสเท่าเทียม เท่าเทียมจริงไหม? | KEY MESSAGES #117

หลังร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมทั้ง 4 ฉบับ ผ่านวาระแรกของสภาผู้แทนราษฎรไปเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2566 และได้จัดตั้งคณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญ จำนวน 39 คน เพื่อพิจารณาวาระ 2 ภายในระยะเวลา 60 วัน ทำให้ตอนนี้สิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศในไทยกำลังเขยิบขึ้นอีกขั้น   แต่ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมทั้ง 4 ฉบับ ที่เป็นร่างคณะรัฐมนตรี (ครม.) ร่างพรรคก...
17 มกราคม 2024

วู้ดดี้-นัท นิสามณี เข้าสภาร่วมวงถกสมรสเท่าเทียมครั้งแรก หลังได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษากรรมาธิการ

วันนี้ (17 มกราคม) บรรยากาศก่อนเข้าประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... หรือกฎหมายสมรสเท่าเทียม   โดยในวันนี้ วู้ดดี้-วุฒิธร มิลินทจินดา พิธีกรชื่อดัง และ ณัฐชัย ตั้งนิมิตรธนา หรือ นัท นิสามณี เน็ตไอดอลชื่อดัง ในฐานะที่ปรึกษาของคณะกรรมาธิการฯ เข้าร่วมป...
15 มกราคม 2024

‘สมรสเท่าเทียม’ การเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในระบบกฎหมายครอบครัวไทย

ในระบบกฎหมายไทยนั้นได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลง ‘กฎหมายครอบครัว’ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการก่อกำเนิดขึ้นของสถาบันครอบครัวโดยการสมรส ตลอดจนความสัมพันธ์ทางแพ่งระหว่างคู่สมรสและบุตร ซึ่งเกิดขึ้นมาจากการสมรสเพื่อให้ทันสมัยกับสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา    แต่ทว่ามีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายครอบครัวเพียง 3 ครั้งนับถึงปัจจุบัน ซึ่งอาจเรียกได้ว่าเ...

Close Advertising