×

RUOK

8 ธันวาคม 2020

ไม่ได้ตั้งใจ แต่ทำไมเราถึงตกหลุมรักคนแบบเดิมๆ?

แม้เราจะเคยได้ยินว่า ความรักเป็นเรื่องของความรู้สึก ไม่มีเหตุผล แต่ในแง่มุมของจิตวิทยา การรักใครสักคนมีที่มาที่ไปเสมอ R U OK ชวนตั้งคำถามกับความรู้สึกว่า อะไรทำให้เราถึงตกหลุมรักคนแบบเดิมซ้ำๆ ไม่ว่าจะรูปร่างหน้าตา คาแรกเตอร์ ลักษณะนิสัย ถึงจะไม่ได้เป็นสิ่งแรกๆ ที่ทำให้รู้สึกรัก แต่เมื่อคบหากันไป มันมีอะไรคล้ายๆ เดิมอยู่เสมอ เอพิโสดนี้จะตอบคำ...
3 ธันวาคม 2020

ทั้งๆ ที่อยากเป็นที่รัก แต่ทำไมรู้สึกไม่มีค่าพอที่จะถูกรัก?

มนุษย์ทุกคนล้วนต้องการเป็นที่รัก แต่ภายใต้ความรู้สึกนั้นหลายคนกลับรู้สึกว่าตัวเอง ‘ดีไม่พอ’ ‘ไม่ควรค่าพอ’ ที่จะได้รับความรักจากใคร R U OK ชวนทำความเข้าใจที่มาของความรู้สึกไม่ควรค่าที่จะถูกรัก ว่าส่วนใหญ่ไม่น่าเชื่อว่าจะมาจากการเลี้ยงดูตั้งแต่วัยเด็กจากครอบครัว แต่เมื่อเราเติบโตและตระหนักรู้ในคุณค่าของตัวเอง เราสามารถสร้างและรับรู้คุณค่าของตัวเอง...
1 ธันวาคม 2020

ให้เวลาตัวเองอ่อนแอบ้าง เพราะเราไม่ต้องเข้มแข็งตลอดเวลา

เมื่อถึงเวลาอ่อนแอ หลายคนจะรีบลบความรู้สึกนั้นออก พร้อมรีบตัดสินตัวเองอย่างอัตโนมัติว่า ‘อย่าอ่อนแอสิ ต้องเข้มแข็ง ใครๆ ก็ต้องเข้มแข็งกันทั้งนั้น’ กลายเป็นเวลาเมื่อลุกไม่ไหว กลับรู้สึกผิดซ้ำเข้าไปอีก   R U OK เคยพูดว่าความอ่อนแอเป็นธรรมชาติของมนุษย์ เราทุกคนมีสิทธิ์ที่จะอ่อนแอได้ แต่สำหรับเอพิโสดนี้เราจะชวนตั้งคำถามว่าเมื่อมันเป็นธรรมชาต...
R U OK EP.223 อาร์ทตี้ ปฐพร ให้เวลาเยียวยาจิตใจ เพื่อก้าวเดินอย่างมีเป้าหมายในทุกวัน
26 พฤศจิกายน 2020

อาร์ทตี้ ปฐพร ให้เวลาเยียวยาจิตใจ เพื่อก้าวเดินอย่างมีเป้าหมายในทุกวัน

พ.ศ. 2563 ไม่ใช่ปีที่ง่ายสำหรับใครหลายคน   เนื่องจากภาวะโควิด-19 ที่ทำให้เศรษฐกิจและความมั่นคงทางใจสั่นคลอนได้ง่ายๆ หลายเป้าหมายที่วางไว้ว่าจะเดินทางให้ถึง กลับกลายเป็นเรื่องยากที่ต้องใช้แรงความพยายามมากเป็นพิเศษ    อาร์ทตี้-ปฐพร ทรัพย์ไพฑูรย์ คือหนึ่งในคนเหล่านั้น หลังจากได้รับกระแสชื่นชมจากการรายงานข่าวในม็อบ ชื่อเสียงข...
R U OK EP.222 มีหลายคนในร่างเดียว จำไม่ได้ว่าทำอะไรลงไป รู้จักกับโรคหลายอัตลักษณ์ (DID)
23 พฤศจิกายน 2020

มีหลายคนในร่างเดียว จำไม่ได้ว่าทำอะไรลงไป รู้จักกับโรคหลายอัตลักษณ์ (DID)

โรคทางจิตเวชที่พบไม่ได้บ่อย แต่เป็นที่จดจำในภาพยนตร์อย่างเรื่อง Split คือโรคหลายบุคลิก หรือเรียกอย่างทางการว่าโรคหลายอัตลักษณ์ Dissociative Identity Disorder (DID) ผู้เป็นโรคนี้มีมักมีหลายตัวตนอยู่ในคนคนเดียว    R U OK คุยกับ นพ.ชยุติ วงศ์เลิศวิศวกร ว่าโรคหลายอัตลักษณ์เหมือนหรือแตกต่างกับบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่งหรือโรคไบโพลาร์อย่างไร จุด...
หยุดแบกโลกทั้งใบ และเลิกนิสัยชอบโทษตัวเอง
19 พฤศจิกายน 2020

หยุดแบกโลกทั้งใบ และเลิกนิสัยชอบโทษตัวเอง

โทษตัวเอง เป็นวิธีแก้ปัญหาของเราที่บางครั้งก็เกิดขึ้นอย่างอัตโนมัติด้วยความเคยชิน ว่าทำแล้วสบายใจและไม่เดือดร้อนคนอื่น แต่บางครั้งก็อาจลืมไปว่าคนที่เป็นทุกข์และแบกโลกทั้งใบอยู่นั้นคือเรา   R U OK ชวนมองสาเหตุของนิสัยโทษตัวเอง ซึ่งบางครั้งมาจากคนใกล้ตัวอย่างไม่ตั้งใจ แต่เมื่อรู้ตัวแล้วว่านิสัยนี้ทำให้คุณค่าของเราลดลง จะทำอย่างไรให้เลิกควา...
16 พฤศจิกายน 2020

ฝันแบบนี้แปลว่าอย่างไร ถอดรหัสแฟนตาซีในฝันที่อาจลึกถึงขั้นจิตไร้สำนึก

ความฝันเป็นเรื่องชวนสงสัยไม่จบสิ้น   หลายครั้งที่พยายามตีความความฝัน แต่กลับแปลไม่ออกว่าทำไมเราถึงฝันหลุดโลกอย่างนั้น บางเรื่องก็ไม่เคยประสบพบเจอมาก่อน บางทีก็ฝันถึงคนที่ลืมไปนาน หรือบางคืนก็ฝันถึงเหตุการณ์ในอดีตอย่างไม่รู้สาเหตุ   ที่เป็นอย่างนี้เพราะความฝันคือการทำงานของความทรงจำที่เก็บกดอยู่ภายในจิตใจ ที่กำลังแปลเรื่องราวเป...
R U OK EP.219 ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ หน้าที่ของความฝัน และกลไกการป้องกันตัวเอง
13 พฤศจิกายน 2020

ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ หน้าที่ของความฝัน และกลไกการป้องกันตัวเอง

ความฝันเป็นเรื่องมหัศจรรย์   มีหลายแนวคิดที่เชื่อว่า ‘ความฝัน’ ทำหน้าที่ตอบสนองความปรารถนาของมนุษย์ที่ไม่มีทางเป็นจริงในชีวิตประจำวัน ความต้องการที่เก็บกดไว้ในจิตไร้สำนึกจึงออกมาโลดแล่นในเวลากลางคืน นักจิตวิเคราะห์หลายคนจึงพยายามทำความเข้าใจความฝันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี   R U OK คุยกับ วันเฉลิม คงคาหลวง นักจิตวิทยาการปรึกษา ว่าท...
10 พฤศจิกายน 2020

ค้นหาสาเหตุการนอนไม่หลับ ตื่นมาแล้วง่วง กรน ละเมอ และทุกปัญหาของการนอน

สำหรับบางคนการนอนก็เป็นเรื่องยาก   เพราะไหนจะนอนหลับยาก หลับไม่สนิท ตื่นบ่อยระหว่างคืน หรือตื่นมาแล้วก็เหมือนยังไม่ได้นอน จนคิดว่าเริ่มเป็นปัญหาและอยากปรึกษาแพทย์ แต่ไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไร R U OK คุยกับ นายแพทย์ชยุติ วงศ์เลิศวิศวกร เพื่อตอบทุกปัญหาของการนอน ตั้งแต่คุณภาพการนอนที่ดีเป็นอย่างไร นอนไม่หลับแค่ไหนถึงเป็นโรค อยากพบแพทย์สาข...
R U OK EP.217 หาข้อมูลสนับสนุนความคิดตัวเอง เมื่อสิ่งที่เชื่อไม่ตรงกับสิ่งที่เห็น
6 พฤศจิกายน 2020

หาข้อมูลสนับสนุนความคิดตัวเอง เมื่อสิ่งที่เชื่อไม่ตรงกับสิ่งที่เห็น

กลไกอย่างหนึ่งของความคิดมนุษย์ เมื่อสิ่งที่เห็นตรงหน้าไม่สอดคล้องกับความเชื่อที่ยึดถือมาทั้งชีวิต R U OK พูดคุยถึงความคิดไม่ลงรอย หรือ Cognitive Dissonance เพื่อตอบคำถามว่า ทำไมมนุษย์ถึงสร้างตรรกะหรือเลือกเชื่อข้อมูลที่สนับสนุนความคิดของตัวเอง เพื่อป้องกันความไม่สบายใจ กลบความรู้สึกแย่ ซึ่งอาจนำไปสู่การคิดอย่างไม่เป็นเหตุเป็นผลและตัดสินใจผิดพลาด...


Close Advertising
X