×

วิทยาศาสตร์

16 พฤศจิกายน 2024

เทคนิคนอนน้อยแต่มีคุณภาพ ตื่นแล้วใช้ชีวิตได้

ปั่นงาน เตรียมพรีเซนต์ อ่านหนังสือสอบจนดึก หรือปัจจัยอื่นๆ ที่ทำให้หลายคนต้องนอนน้อยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่จะทำอย่างไรให้ตื่นมาแล้วยังใช้ชีวิตต่อได้โดยไม่สะลึมสะลือ   Top to Toe เอพิโสดนี้ เปิด 2 งานวิจัยที่สร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการนอน จากเดิมที่รู้กันว่าต้องนอน 6-8 ชั่วโมง จริงๆ แล้วต้องนอนกี่ชั่วโมงจึงจะเสี่ยงโรคร้ายน้อยที่สุด...
9 พฤศจิกายน 2024

ไฟเบอร์และวิตามินในน้ำผลไม้เหลือแค่ไหน หรือได้แค่น้ำตาล?

เป็นที่ถกเถียงกันมากว่า ‘น้ำผักผลไม้’ ที่หลายคนเข้าใจว่าดีต่อสุขภาพนั้น แท้จริงแล้วไม่ต่างอะไรกับของหวานที่เหลือเพียงน้ำตาล และส่งผลเสียต่อร่างกาย   Top to Toe อีพีนี้ ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลน้ำผักผลไม้ที่แพร่หลายในประเทศไทย ตั้งแต่การคั้น การปั่น การสกัดแยกกาก ไปจนถึงการสกัดเย็น ว่าวิธีการแต่ละแบบส่งผลต่อกากใยอาหาร, วิตามิน, เกลือแร่ และ...
2 พฤศจิกายน 2024

เพศสัมพันธ์ ต้นเหตุสมดุลจุลินทรีย์ในร่างกายเปลี่ยน

ระบบนิเวศของจุลินทรีย์ หรือ Microbiome ไม่ได้มีแค่ในลำไส้เท่านั้น แต่ยังมีอยู่ทั่วร่างกายมนุษย์ ซึ่งแม้ว่าเราจะดูแลให้สมดุลเท่าไรก็ตาม แต่บางกิจกรรมก็สามารถทำให้ระบบนิเวศของจุลินทรีย์เปลี่ยน โดยเฉพาะการมีเพศสัมพันธ์ที่เป็นการรับจุลินทรีย์มาจากอีกฝ่าย   Top to Toe เอพิโสดนี้ พาสำรวจสังคมจุลินทรีย์ระบบต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับเพศสัมพันธ...
26 ตุลาคม 2024

รับมือ 2 ช่วงอายุที่ร่างกายแก่กะทันหัน

โดยปกติแล้วเราเข้าใจกันว่า ร่างกายของมนุษย์แก่ขึ้นทุกวันด้วยอัตราปกติ แต่จากงานวิจัย 2 ฉบับพบว่ามีอยู่ 2 ช่วงอายุที่ร่างกายแก่กะทันหัน ซึ่งส่งผลต่อการทำงานของหัวใจ ระบบภูมิคุ้มกัน และการเผาผลาญไขมันที่ทรุดโทรมลงอย่างรวดเร็ว   ก่อนจะเข้าสู่ 2 ช่วงอายุดังกล่าว Top to Toe ขอสรุปองค์ความรู้และวิธีการรับมือ ทั้งการดูแล DNA ไม่ให้โดนทำลาย การป...
12 ตุลาคม 2024

เลือกน้ำมันพืชแบบไหนตอบโจทย์ร่างกายที่สุด

น้ำมันเป็นสิ่งที่หลายคนมองว่าน่ากลัวและพยายามหลีกเลี่ยง แต่ในขณะเดียวกันไขมันก็เป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย แล้วจะเลือกน้ำมันพืชอย่างไร เพราะเดินเข้าซูเปอร์มาร์เก็ตทีไรก็มีให้เลือกเต็มไปหมด   Top to Toe ไม่ได้อยากให้กลัวน้ำมัน แต่อยากให้โฟกัสที่การเลือกชนิดของน้ำมันและวิธีการใช้ เพราะสิ่งสำคัญคือ ‘จุดเกิดควัน’ ที่จะทำให้เกิดสารอนุมูลอ...
7 ตุลาคม 2024

มนุษย์ชอบนินทา เพราะเราจะได้รู้ว่าใครคือมิตรหรือศัตรู!?

Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ ชวนคุยเรื่อง ‘การนินทา’ พฤติกรรมที่เหมือนจะธรรมดา แต่ไม่ธรรมดา เพราะในแง่วิวัฒนาการนั้น การนินทามีฟังก์ชันที่หลายคนอาจคิดไม่ถึง!   ประโยชน์ของการนินทาคืออะไร ทำไมจึงเป็นพฤติกรรมสำคัญต่อเผ่าพันธุ์มนุษย์ แล้วในสัตว์อื่นๆ มีพฤติกรรมลักษณะนี้หรือไม่ หาคำตอบได้ในเอพิโสดนี้   ดำเนินรายการโดย หมอเอ้ว-ชัชพล เกี...
5 ตุลาคม 2024

วิธีทำอาหารที่ช่วยลดสารเร่งแก่ AGEs

ไม่ใช่แค่การเลือกวัตถุดิบเท่านั้น แต่ ‘วิธีการประกอบอาหาร’ ก็ทำให้เกิดสารที่ทำให้แก่เร็วขึ้น โดยตัวแปรสำคัญที่ว่าคืออุณหภูมิ ระยะเวลา และความชื้น   Top to Toe เอพิโสดนี้ชวนทุกคนที่ไม่ว่าจะทำอาหารรับประทานเองหรือไม่ก็ตาม รู้จักกับสารอันตราย 3 กลุ่ม ทั้งสารจากเนื้อสัตว์โดนความร้อน เนื้อสัตว์ที่หมักที่ประกอบด้วยน้ำตาลโดนความร้อน และพืชที่มี...
28 กันยายน 2024

Leaky Gut ดูแลป้อมปราการลำไส้ก่อนลำไส้รั่ว

เชื่อหรือไม่ว่า ลำไส้รั่วได้!   ภาวะลำไส้รั่ว หรือ Leaky Gut แม้ยังไม่จัดเป็นโรคทางการแพทย์ แต่ก็สร้างความทรมานให้กับผู้ที่มีอาการ ทั้งปวดท้องส่วนล่าง ท้องผูก ท้องร่วง ท้องป่อง อาหารไม่ย่อย และเหนื่อยง่าย เพราะมีผลกระทบต่อไทรอยด์โดยตรง   สาเหตุสำคัญเกิดจากป้อมปราการในเยื่อบุลำไส้ยอมให้สารพิษและเชื้อโรคบางอย่างผ่านเข้ามาได้มากเ...
21 กันยายน 2024

ดูแลไทรอยด์ ก่อนระบบเผาผลาญพัง

คุณมีอาการเหล่านี้หรือไม่ น้ำหนักเพิ่ม เหนื่อยง่าย หนาวง่าย เศร้าง่าย อาการดังกล่าวอาจเกี่ยวข้องกับ Hypothyroid ซึ่งเกิดจากร่างกายสร้างฮอร์โมนไทรอยด์น้อยเกินไป จนทำให้ระบบการเผาผลาญทำงานอย่างไม่มีประสิทธิภาพ   Top to Toe พาไปรู้จักอวัยวะและฮอร์โมนสำคัญที่ควบคุมระบบการเผาผลาญของร่างกาย กลไกของฮอร์โมนไทรอยด์ทำงานอย่างไร สาเหตุที่แท้จริงที่...
14 กันยายน 2024

กินไก่อกโต? แบ่งกินโปรตีนให้คุ้มค่า คำตอบจากนักวิทยาศาสตร์ทางอาหาร

ตอบทุกความอยากรู้เรื่องเนื้อไก่ กับนักวิทยาศาสตร์ทางอาหาร ไก่เป็นแหล่งโปรตีนที่กินกันทุกวัยตั้งแต่เด็ก คนอยากสร้างกล้ามเนื้อ หรือผู้ใหญ่ เพราะราคาเข้าถึงได้ ย่อยง่าย แต่ก็ยังมีคำถามว่า กินไก่แล้วอกโต นมแหลม เพราะฮอร์โมนจริงไหม กินไก่ทำให้เป็นเกาต์จริงหรือ   Top to Toe ชวนเจาะลึกเรื่องเนื้อไก่กับ ดร.ยุวเรศ มลิลา ตั้งแต่การพัฒนาสายพ...


Close Advertising
X