×

จิตแพทย์

29 กันยายน 2020

ถ้าสมองสั่งให้รักเงิน จะทำให้อย่างไรมีความสุขนอกจากการใช้เงินบ้าง

หากนับจากวิวัฒนาการ มนุษย์เราใช้เครื่องมือบางอย่างเพื่อทำให้มีชีวิตรอด จนก้าวเข้าสู่โลกทุนนิยม ‘เงิน’ กลายเป็นตัวกลางที่สมองเราเรียนรู้ว่าคือสิ่งที่ทำให้รู้สึกมั่นคง ปลอดภัย แต่บางครั้งอาจหลงลืมไปว่าเงินเป็นเพียงตัวกลางที่จะนำไปสู่สิ่งที่เราต้องการมากกว่านั้น   R U OK คุยกับ หมอนัท คลินิกกองทุน ว่าในภาวะที่การเงินหลายคนเริ่มฝืดเคือง เราส...
24 กันยายน 2020

Time Management กุญแจสำคัญที่จัดการทั้งงาน ครอบครัว และความต้องการส่วนตัว

ในช่วงเวลาวิกฤตมักมีเรื่องที่เราจัดการไม่ได้ และอยู่นอกเหนือการควบคุมอยู่เต็มไปหมด แต่เราอาจลืมไปว่าสิ่งหนึ่งที่ทุกคนมีเท่ากันนั่นคือ ‘เวลา’ และเวลานี่เองคือกุญแจสำคัญที่เป็นพื้นฐานตั้งต้นในการจัดการเรื่องยากๆ ทั้งหลายในชีวิต   R U OK คุยกับ สีตลา ชาญวิเศษ ที่นอกจากจะเป็นพนักงานออฟฟิศ เป็นผู้ดูแลครอบครัว ยังไม่ลืมที่จะจัดสรรให้เวลากับควา...
R U OK
22 กันยายน 2020

เป็นกำลังใจให้ตัวเองเพื่อให้ผ่านพ้นวันยากๆ

เป็นธรรมดาถ้าจะรู้สึกว่า ‘วันนี้ไม่ใช่วันของเรา’ เพราะปัญหาที่ผ่านเข้ามาทำให้เราท้อ เราถอยได้ง่ายๆ   R U OK ขอเป็นกำลังใจให้ทุกคนที่กำลังก้าวผ่านอุปสรรค ได้โปรดเชื่อมั่นในจุดแข็งของตัวเองว่าเราสามารถใช้มันผ่านเรื่องยากๆ ได้เสมอ และเรื่องยากในวันนี้ที่เจอมันจะเป็นอีกเรื่องที่จะค่อยๆ อยู่กับมันได้ แม้จะรู้สึกยาวนานแค่ไหนก็ตาม   ...
18 กันยายน 2020

อะไรทำให้คนกลายเป็นอาชญากร

สาเหตุอะไรที่ทำให้คนคนหนึ่งกลายเป็นอาชญากรทำสิ่งผิดกฎหมาย และทำร้ายผู้อื่นได้   R U OK ชวน ผศ. ดร.ฐนันดร์ศักดิ์ บวรนันทกุล นักอาชญาวิทยา มาให้ความรู้ว่ามีแรงจูงใจอะไรที่ทำให้มนุษย์สามารถกลายเป็นอาชญากร ที่มาเหล่านั้นมีผลต่อการตัดสินใจในการก่ออาชญากรรมอย่างไร หากเราสามารถเข้าใจ ‘ผู้กระทำ’ ที่อาจเคยเป็น ‘ผู้ถูกกระทำ’ มากขึ้น ก็อาจนำไปสู่กา...
15 กันยายน 2020

อาชญาวิทยาและจิตวิทยา ร่วมค้นหาแรงจูงใจของผู้กระทำความผิด

นอกจากจิตวิทยาจะเป็นศาสตร์ที่ทำหน้าที่เข้าใจมนุษย์แล้ว ยังมีอีกศาสตร์หนึ่งนั่นคือ ‘อาชญาวิทยา’ ที่มีอยู่ในไทยมาอย่างยาวนาน ศาสตร์นี้เน้นการทำความเข้าใจมนุษย์ผู้กระทำความผิดโดยเน้นที่แรงจูงใจ ประกอบกับกระบวนการทางยุติธรรม   R U OK คุยกับ ผศ.ดร.ฐนันดร์ศักดิ์ บวรนันทกุล ประธานหลักสูตรอาชญาวิทยา การบริหารงานยุติธรรม มหาวิทยาลัยมหิดล ชวนสำรวจ...
11 กันยายน 2020

ความเหลื่อมล้ำในโรงเรียน ศิษย์รัก และ Beauty Privilege

มินและนิ้ง ตัวแทนนักเรียนจากทวิตเตอร์แอ็กเคานต์ นักเรียนเลว ที่สร้างความเคลื่อนไหวในสังคมด้วยการรณรงค์เรื่องความเท่าเทียมและสิทธิมนุษยชนของนักเรียนในฐานะมนุษย์คนหนึ่ง ได้ออกมาเล่าถึงความเหลื่อมล้ำในโรงเรียนที่หลายคนมองไม่ออก สัมผัสไม่ได้ ผ่านพอดแคสต์ R U OK เอพิโสดนี้ เพื่อให้เห็นภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน และเพื่อบอกว่า ทุกคนมีส่วนช่วยให้ปัญหานี้ดี...
8 กันยายน 2020

Crowdsourcing ระดมไอเดียแก้ปัญหา Cyberbullying

เพราะการแก้ไขปัญหา Cyberbullying ไม่ได้มีเพียงสูตรสำเร็จเพียงอย่างเดียว R U OK และ #dtacSafeInternet จำลองการ Crowdsourcing หรือระดมไอเดีย เพื่อแก้ปัญหาการกลั่นแกล้งออนไลน์ โดยเชิญนักจิตวิทยา ตัวแทนครู ตัวแทนนักเรียน และนักกิจกรรมวัยรุ่น มาช่วยกันแก้ไข 5 สถานการณ์ตัวอย่าง ต่างมุมมอง ต่างเหตุผล และผู้ฟังก็สามารถเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหานี้ได้ &...
4 กันยายน 2020

ทำไมครูถึงไม่ทำอะไรเมื่อเกิดการบูลลี่ และถ้าอยากให้ตระหนักถึงปัญหานี้ควรทำอย่างไร

เมื่อเกิดเหตุการณ์บูลลี่ขึ้นในโรงเรียน หลายครั้งนักเรียนอาจรู้สึกว่าทำไมครูถึงไม่จัดการอะไร ถ้าไม่รับฟังเฉยๆ บางครั้งก็ลงโทษซ้ำทั้งผู้กระทำและผู้ถูกกระทำจนเป็นแผลทางใจ   R U OK ชวนคุณครู 3 ท่านมาเปิดเผยความหนักใจว่าต้องระมัดระวังแค่ไหน การกระทำจะไม่เป็นแผลทางใจกับเด็ก และหากจะสร้างทักษะให้ครูและทุกคนในโรงเรียนตระหนักในปัญหาเรื่องการบูลลี...
1 กันยายน 2020

จอยลดา สุ่มเสี่ยง หมิ่นเหม่หรือไม่ โลกของนิยายออนไลน์มีอะไรให้ต้องระวังบ้าง

จอยลดา คือแพลตฟอร์มนิยายออนไลน์ที่ได้รับความนิยมสูง โดยเฉพาะผู้อ่านวัยรุ่น เพราะมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับความสนใจ แต่ผู้ใหญ่หลายคนยังไม่เข้าใจว่านิยายออนไลน์มีรูปแบบอย่างไร จึงเต็มไปด้วยความเป็นห่วง   R U OK ชวนนักอ่าน นักเขียนจอยลดา จากโครงการ dtac Safe Internet และ Community Manager จากจอยลดา มาร่วมทำความเข้าใจกันว่าความเสี่ยงในการใช้แพล...
27 สิงหาคม 2020

ถูกแกล้งมาจากที่โรงเรียน จะปรึกษาพ่อแม่ดีไหม? ทำอย่างไรได้บ้าง?

เมื่อการบูลลี่เกิดขึ้นที่โรงเรียน หลายครั้งเด็กก็ไม่รู้จะหันหน้าไปพึ่งใคร จะบอกเพื่อนก็รู้สึกเป็นปมด้อย บอกครูก็ไม่แน่ใจ แต่ครอบครัวคือส่วนสำคัญที่จะช่วยเหลือให้เขาผ่านพ้นเวลาเหล่านั้นไปได้   R U OK คุยกับ เบญจรัตน์​ จงจำรัสพันธ์ นักจิตวิทยาโรงเรียน ที่วันนี้มาในฐานะพี่สาวของครอบครัวที่มีน้องชายมีภาวะออทิสติกและถูกแกล้งอยู่เสมอ พร้อมแชร์...


Close Advertising
X