×

จิตวิทยา

พอดแคสต์ R U OK
14 เมษายน 2020

แบบฝึกหัดเมื่อรู้สึกแพนิก ด้วยวิธีการพูดคุยกับตัวเอง

เมื่อเราแพนิก หายใจหอบถี่จากความกลัวที่หาสาเหตุไม่ได้ หลายครั้งมันเกินความควบคุมของเรา R U OK จึงอยากชวนให้ผู้ที่รู้สึกกังวลและรับรู้ว่าอาการแพนิกกำลังก่อตัวขึ้นเล็กๆ คอยสังเกตตัวเองและฝึกทักษะการพูดคุยกับตัวเอง (Self-Talk) ผ่านทางคำพูดและการสังเกตร่างกาย รวมถึงฝึกหายใจอย่างถูกวิธี โดยสามารถฝึกตอนที่จิตใจยังสงบเพื่อจะได้ตั้งรับทันท่วงที และเมื่อทำบ...
9 เมษายน 2020

อาการ Panic เกิดขึ้นได้เพราะเรากำลังเผชิญกับความไม่รู้

เชื่อว่าหลายคนกำลังรู้สึกกลัว วิตกกังวล หรือเรียกติดปากกันว่า ‘แพนิก’ เพราะต้องรับมือกับผลกระทบของไวรัสโควิด-19  ไม่ต้องตกใจไป R U OK กำลังจะบอกว่าคุณโอเคที่จะรู้สึกตระหนก เพราะเรากำลังรับมือกับสิ่งที่มองไม่เห็น ต้องเผชิญหน้ากับ ‘ความไม่รู้’ ว่าจะเกิดอะไรขึ้นบ้างกับชีวิต แต่คำถามคือ เมื่อคนข้างๆ แพนิกจนรู้สึกเป็นปัญหาระหว่างกัน เราจะทำอย่าง...
พอดแคสต์ R U OK
7 เมษายน 2020

รับฟังไม่เท่ากับการเป็นที่ปรึกษา บทบาทของหัวหน้าในการแสดงความ Empathy

ในบริบทการทำงาน บทบาทของหัวหน้ากับลูกน้องมักจะถูกตั้งต้นด้วยเรื่องงานเสมอ แต่บางครั้งก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะปนด้วยเรื่องส่วนตัว เพราะเรากำลังทำงานกับมนุษย์ที่แบกเรื่องอีรุงตุงนังหลายอย่างในชีวิต   R U OK และ บิ๊กบุญ จากคำนี้พอดแคสต์ ร่วมกันหาคำตอบว่าจริงๆ แล้วหัวหน้าจำเป็นต้องแก้ไขเรื่องส่วนตัวให้กับลูกน้องไหม ลูกน้องมาปรึกษาแบบไม่ทันตั้...
พอดแคสต์ R U OK
3 เมษายน 2020

เจ้านายจะ Empathy กับลูกน้องได้อย่างไร เมื่อความมุ่งหมายในที่ทำงานคือผลลัพธ์และ Productivity

เมื่อที่ทำงานคือพื้นที่ที่ต้องขับเคลื่อนด้วยผลลัพธ์และ Productivity เป็นหลัก Empathy จึงดูเหมือนสิ่งที่ทำให้ซอฟต์ ทำให้ทำงานได้ไม่เต็มที่ แต่นั่นเพราะเรายังไม่เข้าใจ Empathy จริงๆ ต่างหากว่ามันอยู่ตรงไหนและมีฟังก์ชันอย่างไร   วันนี้ บิ๊กบุญ จาก คำนี้ดีพอดแคสต์ จะชวน ดุจดาว วัฒนปกรณ์ คุยถึงเรื่อง Empathy ในฐานะเจ้านายกับลูกน้องว่าความ Emp...
30 มีนาคม 2020

ปรับใจอย่างไรกับการเปลี่ยนแปลงฉับพลันและไม่ทันตั้งตัว

โควิด-19 ไม่ได้นำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงด้านสุขอนามัยเท่านั้น แต่นำมาซึ่งการเปลี่ยนวิธีการทำงาน กิจวัตรประจำวัน เศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ บางคนได้รับผลกระทบถึงเรื่องการงานอย่างไม่ทันตั้งตัว   เพราะไม่มีใครสามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงแบบฉับพลันทันทีได้อย่างเก่งกาจ R U OK จึงชวนให้อยู่กับความ ‘ช็อก’ ที่เกิดขึ้นนั้นสักพัก ไถ่ถามทบทวนกับตัวเอง ไ...
27 มีนาคม 2020

Empathy กุญแจสำคัญที่ทำให้เราอยู่ร่วมกันอย่างเข้าใจในช่วงเวลาวิกฤต

โควิด-19 คือสิ่งที่เปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิตครั้งใหญ่ ตั้งแต่เรื่องงาน เศรษฐกิจ การใช้ชีวิตประจำวัน หรือแม้แต่กระทั่งมุมมองที่มีต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ภายใต้ความหวาดกลัวและวิตกกังวล เราเห็นความเป็นเพื่อนมนุษย์ของอีกฝ่ายน้อยลงหรือเปล่า   R U OK เอพิโสดนี้ ดุจดาว วัฒนปกรณ์ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Empathic Communication จะชวนคุยให้เห็นอีกด้านว่า...
16 มีนาคม 2020

เด็กดี-เด็กเกเร เป็นเพียงนิยาม ร่วมเข้าใจธรรมชาติ เพราะเด็กทุกคนบนโลกนี้ไม่เหมือนกัน

หลายครั้งที่เรารีบด่วนตัดสินว่าเด็กที่โดดเรียน เกเร ไม่อยู่ในกรอบวินัยที่ผู้ใหญ่วางไว้ เป็นเด็กไม่ดี โดยเฉพาะคนใกล้ตัวอย่างพ่อแม่ ที่อาจเห็นเพียงสิ่งที่เด็กแสดงออก แต่ไม่เคยค้นลึกลงไปถึงที่มาว่า เพราะอะไรเด็กถึงเลือกแสดงพฤติกรรมเหล่านั้น   R U OK ชวน ครูวรรณี เจียรวนนท์ รอสส์ มาช่วยกันหาคำตอบว่า ความจริงภายใต้สิ่งที่เด็กแสดงออก พ่อแม่ควร...
12 มีนาคม 2020

ถกกันให้เห็นทางเลือก ‘การตี’ ยังจำเป็นอยู่ไหม แล้วลงโทษลูกอย่างไรให้เสริมแรงเชิงบวก

พ่อแม่มือใหม่หลายคนอาจจะโตมากับการถูกตีจนเกิดเป็นคำว่า ‘ได้ดีเพราะไม้เรียว’ แต่ในปัจจุบัน ‘การตี’ เป็นการลงโทษที่ถกเถียงกันอย่างกว้างขวางว่า หากมีเป้าหมายคืออยากเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็ก การตียังเป็นการลงโทษที่จำเป็นอยู่หรือเปล่า   R U OK ชวน ครูร่ม-ฉัตรวรุณ เล้าแสงชัยวัฒน์ กระบวนกรจากกลุ่มมะขามป้อม มาร่วมกันถกว่าเราสามารถลงโทษลูกได้ด้วยวิธ...
9 มีนาคม 2020

ทำอย่างไรที่จะทำให้ทั้งพ่อและแม่เป็นทีมเดียวกันในการเลี้ยงลูก

ทัศนคติที่ว่าหน้าที่หลักของการเลี้ยงลูกเป็นของแม่ เพราะความเชื่อว่าผู้หญิงละเอียดอ่อนและใส่ใจมากกว่าผู้ชายนั้น กลายเป็นกับดักที่ทำให้หน้าที่เลี้ยงลูกตกเป็นของผู้หญิงโดยปริยาย โดยผู้ชายมีหน้าที่ช่วยเสริมแรงหรือผลัดเปลี่ยนเท่านั้น   R U OK อยากชวนคุยเพื่อทบทวนกันอีกครั้ง ไม่ว่าพ่อหรือแม่ต่างก็มีความสำคัญในการเลี้ยงลูก ไม่ใช่หน้าที่หลักของใ...
5 มีนาคม 2020

Deep Listening ทักษะการฟังเสียงในใจที่ลูกไม่ได้พูดออกมา

การสื่อสารคือทักษะสำคัญของมนุษย์ โดยเฉพาะหน่วยเล็กๆ อย่างครอบครัวที่บางครั้งเราได้ ‘พูด’ ในสิ่งที่เราต้องการ แต่เรากลับไม่ได้ ‘ฟัง’ สารที่อีกฝ่ายอยากส่งมาให้เรา   นอกจาก Active Listening ที่เป็นทักษะสำคัญของการฟังแล้ว ยังมีการฟังอีกชนิดที่เรียกว่า Deep Listening ที่แปลเป็นภาษาไทยอย่างงดงามว่า การฟังด้วยหัวใจ ที่ไม่เพียงต้องตรวจสอบความพร้...


Close Advertising
X