×

ชัชพล เกียรติขจรธาดา

4 พฤศจิกายน 2024

วิวัฒนาการ ‘การกิน’ ทำไมของอร่อยไม่ค่อยมีประโยชน์?

เคยสงสัยกันไหมว่า ทำไมของอร่อยมักไม่ค่อยมีประโยชน์ ส่วนอาหารที่มีประโยชน์กลับไม่ค่อยอร่อย!   Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ ว่าด้วยเรื่องอาหารการกินของมนุษย์ ชวนหาคำตอบที่หลายคนน่าจะเคยสงสัย ทำไมเราชอบกินของหวาน ของทอด ของมัน สิ่งเหล่านี้สัมพันธ์กับร่างกายเราอย่างไร เกี่ยวข้องเรื่องวิวัฒนาการหรือไม่ การกินของเราทุกวันนี้แตกต่างจากมนุษย์ยุคหินอย...
14 ตุลาคม 2024

วิวัฒนาการความโกรธ อะไรทำให้มนุษย์ต้องเปิดโหมด ‘หัวร้อน’

Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ ชวนคุยเรื่องความโกรธและความรุนแรงในมุมวิวัฒนาการ ทำไมความขัดแย้งเล็กๆ น้อยๆ จึงกลายเป็นเรื่องคอขาดบาดตาย การทะเลาะวิวาทมีประโยชน์อย่างไรในโลกยุคเก่า และเหตุใดพฤติกรรมเหล่านี้จึงยังคงอยู่ ทั้งที่เราอยู่ในยุคที่มี ‘กฎหมาย’ ในการควบคุมสังคมแล้ว   ดำเนินรายการโดย หมอเอ้ว-ชัชพล เกียรติขจรธาดา และ ปลายฝน-ภัทรสุดา บุญญศร...
9 กันยายน 2024

ส่วนเว้า-ส่วนโค้งของผู้หญิง คือสิ่งที่วิวัฒนาการคัดสรรมาแล้ว?

เคยสังเกตกันไหมว่า เวลาผู้ชายมองผู้หญิง สิ่งที่ดึงดูดสายตาเป็นลำดับแรกๆ คือสรีระที่มีส่วนเว้า-ส่วนโค้ง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของมนุษย์เพศหญิง   สิ่งที่น่าสนใจคือ การที่ผู้หญิงมีสรีระแบบนี้ รวมถึงการที่ผู้ชายชอบมองโดยสัญชาตญาณ มีเหตุผลทางวิวัฒนาการซ่อนอยู่      Human-ศาสตร์ เอพิโสดนี้ จะพาไปหาคำตอบว่า ทำไมผู้ชายถึงช...
26 สิงหาคม 2024

ทฤษฎีวิวัฒนาการ รู้ไปทำไม?

เมื่อพูดถึงชีววิทยา ทฤษฎีที่สำคัญที่สุดคือ ‘ทฤษฎีวิวัฒนาการ’ เพราะมันคือรากฐานที่ช่วยอธิบายว่าทำไมมนุษย์เราถึงเป็นแบบทุกวันนี้ ทั้งในแง่ร่างกาย สมอง และพฤติกรรม   ‘Human-ศาสตร์’ EP.1 จะพาไปปูพื้นฐานว่าทฤษฎีนี้สำคัญอย่างไร พร้อมไขข้อสงสัยว่า Charles Darwin เป็นผู้ให้กำเนิดทฤษฎีนี้จริงหรือไม่   ดำเนินรายการโดย หมอเอ้ว-ชัชพล เกีย...
Human-ศาสตร์
20 สิงหาคม 2024

‘Bio Revolution’ ชีววิทยาพลิกอนาคตได้จริงหรือ?

เชื่อหรือไม่ว่า ตอนนี้เรากำลังอยู่ในยุคเปลี่ยนผ่านสำคัญของมวลมนุษยชาติ ไม่ต่างจากยุคปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ปฏิวัติอุตสาหกรรม หรือแม้กระทั่งการปฏิวัติทางเทคโนโลยีในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา   การเปลี่ยนแปลงที่ว่านี้มาจากสิ่งที่เรียกว่า ‘Bio Revolution’ หรือการปฏิวัติทางชีววิทยา   ‘Human-ศาสตร์’ รายการน้องใหม่จาก THE STANDARD PODCAST จะพา...


Close Advertising
X
Close Advertising