×

Science

Polaris Dawn
13 กันยายน 2024

สรุปเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ ภารกิจ Polaris Dawn: รุ่งอรุณการสำรวจอวกาศของเอกชน

ภารกิจ Polaris Dawn ประสบความสำเร็จในการเดินทางไปไกลจากโลกที่สุดในรอบ 52 ปี และเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่นักบินอวกาศเอกชนได้ออกไปปฏิบัติงานภายนอกยานอวกาศ นับเป็นรุ่งอรุณของภารกิจสำรวจอวกาศยุคใหม่อย่างแท้จริง   แต่เบื้องหลังความสำเร็จของ Polaris Dawn นั้นอุดมไปด้วยความเสี่ยงด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางไปถึงแถบรังสีที่ห้อมล้อมโลก ห...
9 กันยายน 2024

ESA นำยาน Salsa เผาไหม้ในบรรยากาศโลก ลดขยะอวกาศในวงโคจร

เช้าวันนี้ (9 กันยายน) เวลา 01.47 น. ตามเวลาประเทศไทย ยาน Salsa ของภารกิจ Cluster ถูกเผาไหม้ในบรรยากาศโลกอย่างปลอดภัย เป็นยานอวกาศลำแรกที่ถูกนำกลับมาเผาไหม้อย่างควบคุม เพื่อลดปริมาณขยะอวกาศในวงโคจรรอบโลก   องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA ได้ยุติการสำรวจอวกาศของภารกิจ Cluster ประกอบด้วยยานอวกาศ 4 ลำที่ถูกนำส่งขึ้นสู่วงโคจรในปี 2000 เพื่อศึกษาส...
นักบินอวกาศ
9 กันยายน 2024

นักบินอวกาศขึ้นรูปโลหะจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติได้เป็นครั้งแรก

นักบินอวกาศ บนสถานีอวกาศนานาชาติใช้เครื่องพิมพ์ 3 มิติ พิมพ์ชิ้นส่วนโลหะบนอวกาศได้สำเร็จเป็นครั้งแรก   เครื่องพิมพ์โลหะ 3 มิติของบริษัท Airbus และหน่วยงานพันธมิตรที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA ถูกนำไปติดตั้งบนสถานีอวกาศนานาชาติเมื่อเดือนมกราคม 2024 เพื่อสาธิตความสามารถขึ้นรูปโลหะในสภาพแรงโน้มถ่วงต่ำเป็นครั้งแรก &nbs...
Starliner
7 กันยายน 2024

ยาน Starliner กลับโลกอย่างปลอดภัย หลังเกิดปัญหาบนสถานีอวกาศนานาชาติ

ยาน Starliner ลงจอดอย่างปลอดภัย หลังแยกตัวจากสถานีอวกาศนานาชาติเพื่อกลับโลก แต่ไม่มีนักบินอวกาศโดยสารมาด้วย เนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัยของ NASA   วันนี้ (7 กันยายน) เวลา 05.04 น. ตามเวลาประเทศไทย ยานอวกาศ Starliner ของบริษัท Boeing ที่เดินทางขึ้นบินในภารกิจ Crew Flight Test หรือเที่ยวบินทดสอบพร้อมลูกเรือ แยกตัวออกจากสถานีอวกาศนานาชา...
ดาวพุธ
7 กันยายน 2024

ESA เผยภาพถ่ายล่าสุดของดาวพุธจากยานสำรวจ BepiColombo

ยานอวกาศ BepiColombo ขององค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA ประสบความสำเร็จในการบินผ่าน ดาวพุธ เป็นครั้งที่ 4 พร้อมเผยภาพถ่ายสุดคมชัดของดาวเคราะห์ที่โคจรใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด   วันที่ 5 กันยายน เวลา 04.48 น. ตามเวลาประเทศไทย ยาน BepiColombo ได้บินเฉียดผ่านดาวพุธที่ความสูง 165 กิโลเมตรจากพื้นผิว เพื่ออาศัยแรงโน้มถ่วงของดาวช่วยปรับทิศให้ยานอวกาศเข้า...
ดาวเคราะห์
4 กันยายน 2024

นักดาราศาสตร์พบดาวเคราะห์น้อยขนาด 1 เมตร จะพุ่งชนโลกคืนวันที่ 4 กันยายน แต่ไม่เป็นอันตราย

นักดาราศาสตร์พบ ดาวเคราะห์น้อย ขนาด 1 เมตร จะพุ่งชนโลกเหนือประเทศฟิลิปปินส์ คืนนี้ (4 กันยายน) เวลา 22.46 น. ตามเวลาประเทศไทย โดยมีโอกาสเห็นเป็นดาวตกบนท้องฟ้า และไม่เป็นอันตรายต่อโลก   Jacqueline Fazekas นักวิจัยของโครงการ Catalina Sky Survey ได้ตรวจพบดาวเคราะห์น้อยขนาด 1 เมตร ชื่อ CAQTDL2 จากการใช้อุปกรณ์ของหอดูดาว Mount Lemmon Survey ต...
4 กันยายน 2024

คณะนักดาราศาสตร์สมัครเล่นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ TOI 6883 b ประเภทดาวพฤหัสบดีอุ่น

คณะนักดาราศาสตร์สมัครเล่นใช้กล้องโทรทรรศน์จากหลังบ้านตนเอง ร่วมยืนยันการค้นพบดาวเคราะห์ประเภทดาวพฤหัสบดีอุ่น หรือ Warm Jupiter ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ที่ห่างจากโลกไป 305 ปีแสง   การค้นพบดังกล่าวใช้เทคนิคการ ‘อุปราคา’ หรือ Transit เมื่อแสงจากดาวฤกษ์เกิดหรี่ลงไปชั่วขณะในระหว่างที่มีดาวเคราะห์โคจรผ่านหน้า แบบเดียวกับปรากฏการณ์สุริยุปราคาที่ทำให้ด...
31 สิงหาคม 2024

NASA เผยภาพ ‘ดอกกุหลาบ’ แห่งฝุ่นก๊าซและดวงดาว ในกาแล็กซีแอนโดรเมดา

NASA เผยภาพถ่ายวัตถุคล้าย ‘ดอกกุหลาบ’ จากฝุ่นก๊าซและดวงดาวต่างๆ ในกาแล็กซีแอนโดรเมดา สุดตระการตาจากกล้องฮับเบิล   แอนโดรเมดาเป็นกาแล็กซีประเภทกังหันมีคาน คล้ายกับทางช้างเผือก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 152,000 ปีแสง และอยู่ห่างจากโลกประมาณ 2,500,000 ปีแสง โดยบริเวณที่กล้องฮับเบิลถ่ายภาพได้ คือกระจุกดาวที่ซ่อนอยู่ใต้ฝุ่นก๊าซ ณ พื้นที่ของแขนก...
NASA
29 สิงหาคม 2024

NASA เลือก จอนนี คิม อดีตแพทย์และหน่วยซีล ขึ้นบินไปสถานีอวกาศในปี 2025

จอนนี คิม นักบินอวกาศ NASA อดีตแพทย์และทหารหน่วยซีลวัย 40 ปี ได้รับเลือกให้ขึ้นบินไปอวกาศครั้งแรกกับยาน Soyuz MS-27 ในเดือนมีนาคม 2025   คิมได้รับเลือกให้เป็น Flight Engineer บนยานอวกาศของรัสเซีย ร่วมกับ เซอร์เกย์ ริซิคอฟ และ อเล็กเซย์ ซูบริตสกี สองนักบินอวกาศ ROSCOSMOS ซึ่งทั้งสามคนจะเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจ Expedition 72/73 บนสถานีอวกาศน...
28 สิงหาคม 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพดาวฤกษ์เกิดใหม่ในเนบิวลา NGC 1333 สุดคมชัด

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพสุดคมชัดของเนบิวลา NGC 1333 แสดงให้เห็นดาวฤกษ์และดาวแคระน้ำตาลที่กำลังก่อตัว   เนบิวลาดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของเมฆโมเลกุลเพอร์ซิอัส (Perseus Molecular Cloud) ที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 960 ปีแสง และเป็นบริเวณที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลบันทึกภาพไว้ในโอกาสฉลองครบ 33 ปีของภารกิจ เมื่อเดือนเมษายน ปี 2023   อย...

MOST POPULAR


Close Advertising
X