×

Science

31 มกราคม 2018

พระจันทร์เลือดที่ท้องฟ้าประเทศไทย

นับเป็นครั้งแรกในรอบ 152 ปี ที่จะเกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคา บลูมูน และซูเปอร์มูน ขึ้นในเวลาเดียวกัน และสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าในหลายประเทศทั่วโลก โดยครั้งล่าสุดที่เกิด จันทรุปราคา ซูเปอร์มูน และบลูมูน พร้อมกันต้องย้อนไปถึงวันที่ 31 มีนาคม 2409     จันทรุปราคาเกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่ผ่านเงาของโลก โดยในครั้งนี้จะเกิดขึ...
31 มกราคม 2018

คืนนี้เตรียมชม Super Blue Blood Moon จันทรุปราคาสีแดงอิฐครั้งแรกในรอบปี

คืนนี้ (31 ม.ค.) ตั้งแต่เวลา 18.30 น. เป็นต้นไป หากมีโอกาสอย่าลืมแหงนหน้ามองฟ้าเพื่อรับชมปรากฏการณ์ดาราศาสตร์อันน่าตื่นตาอย่าง Super Blue Blood Moon ที่จะเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง แต่ขณะเดียวกันยังเป็นช่วงเวลาที่ดวงจันทร์เคลื่อนที่ใกล้โลกมากกว่าปกติ ทำให้สามารถมองเห็นดวงจันทร์ใหญ่ขึ้น (Supermoon)   สำหรับปรากฏการณ์จันทรุปราคา เป็นปรากฏการณ์...
25 มกราคม 2018

จีนโคลนนิ่งลิงแสมคู่แรกของโลกตามรอยแกะดอลลี่ เล็งใช้ศึกษาทางการแพทย์

พุธที่ 25 ม.ค. สำนักข่าวทั่วโลกรายงานข่าวกรณีนักวิทยาศาสตร์จีนในมณฑลเซี่ยงไฮ้ประสบความสำเร็จในการโคลนนิ่งลิงแสม (long-tailed macaques) ด้วยกระบวนการเดียวกับการโคลนนิ่งแกะดอลลี่เป็นประเทศแรกของโลก โดยเจ้าลิงน้อย 2 ตัวที่เกิดจากการโคลนนิ่งมีชื่อว่า ‘หัวหัว (Hua Hua)’ และ ‘จงจง (Zhong Zhong)’ ซึ่งคำว่าจงหัวมีความหมายว่าชาวจีน   https://www....
17 มกราคม 2018

กล้ากินไหม แซลมอนตัดแต่งยีน

“เนื้อปลาแซลมอนนี้ถูกตัดแต่งยีน” นี่อาจจะเป็นป้ายฉลากบนแพ็กเนื้อปลาแซลมอนตามซูเปอร์มาร์เก็ตทั่วไปในอีกไม่ช้า แน่นอนว่าหลายคนอาจจะไม่ได้ใส่ใจหรือแม้แต่สงสัยด้วยซ้ำว่ามันคืออะไร แต่ขณะเดียวกันก็มีอีกหลายคนที่อาจจะอ่านแล้วตั้งคำถามว่า มันหมายความว่าอย่างไรกัน? การตัดแต่งยีนปลาแซลมอนทำได้จริงๆ เหรอ? ที่สำคัญ มันปลอดภัยจริงๆ เหรอ? เมื่อต้นเดือ...
17 มกราคม 2018

เปิดลิ้นชักสมอง ทวงคืนความทรงจำที่หายไป

หลายครั้งที่เวลาไปซื้อของที่ซูเปอร์มาเก็ตผมต้องใช้เวลานานเป็นพิเศษ เหตุผลหลักๆ เลยคือเป็นคนขี้ลืม ถึงแม้ว่าพยายามจดเอาไว้ในมือถือว่าตอนนี้ที่บ้านขาดอะไรบ้าง พอไปถึงที่ซูเปอร์ฯ จริงๆ ก็ลืมเอาขึ้นมาดู (บอกแล้วนะว่าขี้ลืม)   การเดินดูเล่นไปเรื่อยๆ มองสินค้าต่างๆ บนชั้นเป็นการกระตุ้นความทรงจำว่า “เออ...น้ำยาล้างจานที่บ้านก็หมดนะ อ๋อแล้วก็นำ...
29 ธันวาคม 2017

เปิดศักราชใหม่ ชวนดูจันทร์ใหญ่ใกล้โลก ซูเปอร์ฟูลมูน อีกครั้ง 2 ม.ค. 2561

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. ชวนคนไทยชมดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกอีกครั้ง 2 มกราคม 2561 นี้ เป็น ‘ซูเปอร์ฟูลมูน’ แห่งปี   ดวงจันทร์เต็มดวงจะปรากฏในตำแหน่งใกล้โลกมากที่สุดอีกครั้ง หรือเรียกว่า ซูเปอร์ฟูลมูน (Super Full Moon) ที่ระยะห่างประมาณ 356,595 กิโลเมตร ซึ่งเข้าใกล้และมีขนาดปรากฏใหญ่กว่าคืนวันที่ 3 ธันวาคมที่ผ...
9 ธันวาคม 2017

พบ ‘หลุมดำยักษ์’ ห่างโลกมากที่สุดเท่าที่เคยพบ นักวิทย์ฯ หวังช่วยไขปริศนายุคเริ่มต้นจักรวาล

นักดาราศาสตร์ตรวจพบหลุมดำยักษ์ที่มีระยะห่างไกลโลกมากที่สุดเท่าที่เคยมีบันทึกมา เล็งศึกษาพัฒนาการยุคเริ่มต้นของจักรวาล หลุมดำแห่งนี้เป็น ‘ควอซาร์’ หรือหลุมดำที่มีมวลมหาศาลล้อมรอบจานมวลรวมที่มาจากก๊าซร้อนจัด พร้อมด้วยการปลดปล่อยพลังงานและลำอนุภาคออกมาในทิศตั้งฉากด้วย จนถือเป็นวัตถุที่มีแสงสว่างอันดับต้นๆ ในเอกภพ   ข้อมูลบนวารสาร Nat...
9 ธันวาคม 2017

14-15 ธ.ค. ห้ามพลาด! รอชม ‘ฝนดาวตกเจมินิดส์’ ส่งท้ายปี คาดตกสูงสุด 120 ดวงต่อชั่วโมง

จะเรียกว่าเป็นของขวัญส่งท้ายปีจากฟากฟ้าก็คงไม่ผิดนัก เพราะช่วงคืนวันที่ 14 จนถึงรุ่งเช้าวันที่ 15 ธันวาคมนี้กำลังจะมีปรากฏการณ์ ‘ฝนดาวตกเจมินิดส์’ หรือ ‘ฝนดาวตกกลุ่มดาวคนคู่’ ให้คนทั่วโลกได้ชมกันอีกครั้ง แถมครั้งนี้สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. ยังเปิดเผยด้วยว่า ปีนี้ท้องฟ้าจะเป็นใจ ไร้แสงจันทร์รบกวน อีกทั้งยังคาดว่าน่าจะตก...
8 ธันวาคม 2017

บิล เกตส์ ยกย่อง ‘ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์’ เภสัชกรผู้อุทิศตนเพื่อสังคม

บิล เกตส์ มหาเศรษฐีชาวอเมริกันผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟต์ กล่าวยกย่อง ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เภสัชกรหญิงไทย วัย 65 ปี ผ่านเฟซบุ๊กและบล็อกส่วนตัวของเขาว่าเป็นบุคคลที่อุทิศตนทำประโยชน์เพื่อผู้ป่วยทั่วโลก โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี (HIV)   เนื่องในโอกาสวันเอดส์โลก (World AIDS Day) เมื่อวันที่ 1 ธันวาคมที่ผ่านมา บิล เกตส์ ได้กล่าวถึง ดร....
30 พฤศจิกายน 2017

3 ธันวาคมนี้ เตรียมส่องจันทร์วันเพ็ญดวงโต ‘ซูเปอร์ฟูลมูน’ ใหญ่ที่สุดในรอบปี

  คืนวันที่ 3 ธันวาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงขนาดใหญ่กว่าปกติ หรือที่เรียกว่า 'ซูเปอร์ฟูลมูน' โดยดวงจันทร์จะอยู่ใกล้โลกที่ระยะห่าง 357,973 กิโลเมตร สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าทั่วประเทศ ทางทิศตะวันออก ตั้งแต่เวลาประมาณ 18.00 น. เป็นต้นไป     โดยสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. กระทรวงวิทย...

MOST POPULAR


Close Advertising
X