×

Science

GISTDA ไฟป่า
13 มกราคม 2025

GISTDA เผยภาพความเสียหายเหตุไฟป่าลอสแอนเจลิสจากดาวเทียม THEOS-2

GISTDA เผยภาพถ่ายดาวเทียม THEOS-2 ซึ่งแสดงให้เห็นความเสียหายของที่อยู่อาศัยและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ จากเหตุไฟป่าลอสแอนเจลิส เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2025   สถานการณ์ไฟป่าในลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ยังคงไหม้ลามต่อเนื่องเป็นวันที่ 6 สร้างความเสียหายให้กับพื้นที่วงกว้าง ซึ่งข้อมูลจากดาวเทียมต่างๆ มีบทบาทสำคัญในการวางแผนรับมือภัยพิ...
ภาพถ่ายดาวอังคาร
13 มกราคม 2025

NARIT เผยภาพถ่ายดาวอังคารใกล้โลกที่สุด 12 ม.ค. มองเห็นพื้นผิว น้ำแข็งปกคลุมขั้วเหนือ

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยภาพดาวอังคารช่วงใกล้โลกที่สุด บันทึกผ่านกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.7 เมตร ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา ฉะเชิงเทรา เมื่อวันที่ 12 มกราคมที่ผ่านมา ที่ระยะห่างจากโลกประมาณ 96 ล้านกิโลเมตร โดยมองเห็นพื้นผิวของดาวอังคาร รวมถึงเมฆที่ปก...
11 มกราคม 2025

ESA เผยภาพขั้วเหนือดาวพุธ ที่อาจมีน้ำแข็งอยู่ในหลุม จากยาน BepiColombo

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เผยภาพถ่ายชุดล่าสุดของดาวพุธ จากกล้องบนยาน BepiColombo ระหว่างบินเฉียดใกล้เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2025 เวลา 12.59 น. ตามเวลาไทย ที่ระยะห่างเพียง 295 กิโลเมตรเหนือพื้นผิว   การบินผ่าน (Flyby) ดาวพุธครั้งที่ 6 ของภารกิจ จะเป็นการบินผ่านครั้งสุดท้ายของยาน BepiColombo ก่อนเดินทางเข้าสู่วงโคจรรอบดาวพุธในปลายปี 2026 ทำใ...
11 มกราคม 2025

นักบินอวกาศ NASA ถ่ายภาพเหตุไฟป่าลอสแอนเจลิส จากสถานีอวกาศนานาชาติ

วันที่ 10 มกราคม Donald Pettit นักบินอวกาศ NASA ที่กำลังปฏิบัติงานอยู่บนสถานีอวกาศนานาชาติ หรือ ISS เผยภาพเหตุไฟป่าลอสแอนเจลิส พร้อมส่งกำลังใจให้ผู้ได้รับผลกระทบทุกคน   สถานีอวกาศฯ โคจรรอบโลกที่ความสูงประมาณ 400 กิโลเมตรจากพื้นผิว โดยภาพดังกล่าวถูกบันทึกโดยกล้อง Nikon Z9 พร้อมเลนส์เทเลโฟโต้ ซึ่งไม่อาจเผยรายละเอียดได้คมชัดเหมือนกับภาพจากก...
ยาน BepiColombo ในความร่วมมือขององค์การอวกาศยุโรป-ญี่ปุ่น มีกำหนดบินเฉียดผ่านดาวพุธวันที่ 8 มกราคมนี้ เพื่อเตรียมเข้าสู่วงโคจรรอบดาวในช่วงปลายปี 2026
8 มกราคม 2025

ยานอวกาศ BepiColombo เตรียมบินผ่านดาวพุธ 8 มกราคมนี้ ก่อนเข้าสู่วงโคจรในปี 2026

ยาน BepiColombo ในความร่วมมือขององค์การอวกาศยุโรป-ญี่ปุ่น มีกำหนดบินเฉียดผ่านดาวพุธวันที่ 8 มกราคมนี้ เพื่อเตรียมเข้าสู่วงโคจรรอบดาวในช่วงปลายปี 2026   วันที่ 8 มกราคม เวลา 12.59 น. ตามเวลาประเทศไทย ยานอวกาศ BepiColombo จะบินผ่านดาวพุธที่ความสูงเพียง 295 กิโลเมตรเหนือพื้นผิว โดยเป็นการบินผ่านดาวพุธครั้งที่ 6 และเป็นครั้งสุดท้ายก่อนเดินเค...
spacex-starship-flight-7-test-january-2025
6 มกราคม 2025

SpaceX เตรียมทดสอบยาน Starship เที่ยวบินที่ 7 กลางเดือนมกราคมนี้

SpaceX ประกาศเตรียมทดสอบยาน Starship เที่ยวบินที่ 7 สาธิตการส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ และเก็บข้อมูลเพื่อเตรียมนำตัวยานอวกาศกลับมาลงจอดที่ฐานปล่อย ในช่วงกลางเดือนมกราคมนี้   ในภารกิจทดสอบครั้งแรกของปี 2025 SpaceX ระบุว่าเป็นการนำส่งจรวด Starship รุ่นใหม่ที่มีการปรับปรุงระบบต่างๆ ทั้งส่วนของบูสเตอร์ Super Heavy และยานอวกาศ Starship เพื่อพัฒน...
ดาวอังคาร
4 มกราคม 2025

จับตา 12 มกราคม ดาวอังคารอยู่ในตำแหน่งใกล้โลกที่สุดตั้งแต่ปี 2022

วันที่ 12 มกราคม 2025 เวลา 20.38 น. (ตามเวลาประเทศไทย) ดาวอังคาร อยู่ในตำแหน่งใกล้โลกที่สุดนับตั้งแต่ปลายปี 2022 เป็นช่วงเวลาเหมาะสมที่สุดสำหรับการสังเกตด้วยตาเปล่า   เนื่องจากดาวอังคารและโลกต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะวงรีเล็กน้อย ทำให้มีช่วงเวลาที่ดาวเคราะห์ทั้งสองจะอยู่ใกล้กันและห่างกันที่สุดในแต่ละคาบการโคจร โดยปรากฏการณ์ดาวอังคารใก...
ดวงอาทิตย์
31 ธันวาคม 2024

4 มกราคม โลกโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดของปี 2025

4 มกราคม 2025 เป็นวันที่โลกโคจรอยู่ใกล้ ดวงอาทิตย์ ที่สุดในรอบปี ด้วยระยะห่างประมาณ 147,103,686 กิโลเมตร ณ จุดเพอริฮีเลียน (Perihelion) เวลา 20.28 น. ตามเวลาประเทศไทย   เนื่องจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี เช่นเดียวกับทุกวัตถุในระบบสุริยะ จึงทำให้มีช่วงเวลาที่โลกเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดของปีในช่วงต้นเดือนมกราคม และอยู่ในตำแหน่งไกลสุดจาก...
นักบินอวกาศจีน
31 ธันวาคม 2024

นักบินอวกาศจีนทำลายสถิติทำงานนอกสถานีอวกาศนานสุด 9 ชั่วโมง

สองนักบินอวกาศจีนทำลายสถิติการปฏิบัติงานภายนอกยานอวกาศ หรือทำ EVA (Extravehicular Activity) นานที่สุดในประวัติศาสตร์ ด้วยเวลารวม 9 ชั่วโมง 6 นาที   วันที่ 17 ธันวาคม Cai Xuzhe ผู้บัญชาการภารกิจเสินโจว-19 และ Song Lingdong ลูกเรือปฏิบัติงานของภารกิจ เดินทางออกจากโมดูลการทดลอง Wentian บนสถานีอวกาศเทียนกงของจีน เพื่อเริ่มการทำภารกิจภายนอกสถ...
28 ธันวาคม 2024

จับตาดาวหาง C/2024 G3 (ATLAS) ใกล้โลกที่สุดในรอบ 160,000 ปี กลางเดือนมกราคม 2025

จับตาดาวหาง C/2024 G3 (ATLAS) โคจรเฉียดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดในวันที่ 13 มกราคม 2025 ซึ่งอาจสว่างจนเห็นได้ด้วยตาเปล่า หากพลาดแล้วต้องรออีกประมาณ 160,000 ปี ก่อนจะกลับมาอีกครั้ง   ดาวหางดวงนี้ถูกตรวจพบครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 เมษายน โดยเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ Asteroid Terrestrial-impact Last Alert System หรือ ATLAS อันเป็นที่มาของชื่อดาวหางดวง...

MOST POPULAR


Close Advertising