×

Science

ดาวยูเรนัสบังดาวฤกษ์
20 พฤศจิกายน 2024

NARIT ใช้กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติสังเกตดาวยูเรนัสบังดาวฤกษ์ ร่วมกับหอดูดาวทั่วโลก

NARIT ใช้กล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาวแห่งชาติบนดอยอินทนนท์ ร่วมสังเกตดาวยูเรนัสบดบังดาวฤกษ์ ร่วมกับทีมวิจัยของ NASA และหอดูดาวนานาประเทศ   เช้ามืดวันที่ 13 พฤศจิกายนที่ผ่านมา นักดาราศาสตร์ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตรที่ติดตั้งอยู่ ณ หอดูดาวแห่งชาติ บนดอยอินทนนท์ จังหวั...
SpaceX
20 พฤศจิกายน 2024

SpaceX ทดสอบยาน Starship เที่ยวบินที่ 6 เช้ามืดวันนี้

ช่วงเช้ามืดวันนี้ (20 พฤศจิกายน) ตามเวลาประเทศไทย SpaceX ปล่อยยาน Starship ในภารกิจทดสอบเที่ยวบินที่ 6 โดยสามารถนำบูสเตอร์ Super Heavy กลับมาลงจอดบริเวณอ่าวเม็กซิโก   การทดสอบเที่ยวบินที่ 6 เป็นการต่อยอดความสำเร็จจากภารกิจทดสอบครั้งที่ 5 ซึ่งประสบความสำเร็จในการนำบูสเตอร์ Super Heavy ขนาดสูง 70 เมตร เดินทางกลับมาลงจอดที่ฐานปล่อยได้อีกครั...
​ไต้ฝุ่น
17 พฤศจิกายน 2024

ครั้งแรกในรอบ 73 ปีที่ปรากฏ​ไต้ฝุ่น​พร้อมกันถึง 4 ลูก​ในเดือนพฤศจิกา​ยน​

ถือเป็นเรื่องที่ไม่เคยพบมาก่อนตั้งแต่มีการก่อตั้งองค์กรอุตุนิยมวิทยาระหว่างประเทศ (IMO) อย่าง​เป็น​ทางการ ย้อนกลับ​ไป​ถึงปี 1951 นับเป็นเวลาถึง 73 ปี ที่ในปีนี้เกิดการก่อตัวของ​ไต้ฝุ่น​ในเดือนพฤศจิกา​ยนในเวลาไล่เลี่ยกัน​ถึง 4 ลูก​ ได้แก่   ไต้ฝุ่น​หยินซิ่ง (銀杏 / Yinxing) หรือ Marce​ ตามวิธีการ​เรียก​แบบ​ฟิลิปปินส์​ ก่อตัววันที่ 4 พ...
คณะนักวิจัยไทยขึ้นไปทดลองบนเครื่องบินจำลองสภาวะไร้น้ำหนัก
11 พฤศจิกายน 2024

คณะนักวิจัยไทยขึ้นไปทดลองบนเครื่องบินจำลองสภาวะไร้น้ำหนัก หวังต่อยอดการแพทย์อวกาศ

คณะนักวิจัยไทยประสบความสำเร็จในการขึ้นทดลองบนเครื่องบินจำลองสภาวะแรงโน้มถ่วงต่ำ เพื่อนำองค์ความรู้และข้อมูลที่ได้มาพัฒนาต่อยอดด้านการแพทย์อวกาศ รวมถึงผลพลอยได้ต่อเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง   วันที่ 5 พฤศจิกายน ทีมวิจัย TIGERS-X หรือ Thailand Innovative G-Force varied Emulsification Research for Space Exploration นำโดย ผศ. ดร.วเรศ จันทร์เจริญ...
แมกมา
8 พฤศจิกายน 2024

แมกมาที่พบตามซากภูเขาไฟโบราณดับสนิท อาจเป็นที่มาของแหล่งพลังงานแห่งอนาคต

เมื่อต้นปี 2023 มีรายงานการค้นพบแร่ธาตุหายาก หรือ ‘แรร์เอิร์ธ’ ปริมาณมากกว่า 1 ล้านตันในพื้นที่คิรูนา ทางตอนเหนือของประเทศสวีเดน   ถือเป็นข่าวที่สร้างความตื่นเต้นในวงการด้านนี้อยู่พอสมควร ด้วยเหตุที่แร่ธาตุหายากเป็นของจำเป็นในการผลิตพลังงานสะอาด ทั้งแบตเตอรี่สำหรับยานยนต์ไฟฟ้า หรือรถ EV, นำมาผลิตซีเรียม (Ce) ที่ถูกใช้ในตัวเร่งปฏิกิริยาเพ...
NASA Voyager 1
2 พฤศจิกายน 2024

NASA ติดต่อยาน Voyager 1 ได้อีกครั้ง หลังเกิดปัญหาในการรับ-ส่งข้อมูลไปชั่วขณะ

NASA กลับมาสื่อสารกับยาน Voyager 1 ได้อีกครั้ง หลังประสบปัญหาในการรับ-ส่งสัญญาณกับยานอวกาศที่อยู่ไกลโลกที่สุดในช่วงกลางเดือนตุลาคมที่ผ่านมา   ทีมภารกิจของ Jet Propulsion Laboratory หรือ JPL พบว่ายาน Voyager 1 เข้าสู่โหมดป้องกันข้อผิดพลาด หลังมีการส่งคำสั่งไปเปิดหนึ่งในฮีตเตอร์บนยานเมื่อวันที่ 16 ตุลาคมที่ผ่านมา   โดยปกติ Voyag...
1 พฤศจิกายน 2024

ชมคลิป: ไทยเตรียมเข้าร่วมข้อตกลงอวกาศ Artemis Accords โอกาสหรือความท้าทาย? | News Digest

ไทยกำลังจะก้าวสู่ยุคใหม่ในเวทีอวกาศ จากการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติลงนามเข้าร่วมในข้อตกลง Artemis Accords เปิดทางให้ไทยมีส่วนร่วมกับโครงการที่กำลังจะพามนุษย์กลับสู่ดวงจันทร์และเตรียมบุกเบิกดาวอังคาร แล้วการเข้าร่วมครั้งนี้จะเปลี่ยนโฉมเศรษฐกิจอวกาศและวงการวิทยาศาสตร์ของไทยอย่างไรบ้าง?...
เสินโจว-19
31 ตุลาคม 2024

จีนส่ง 3 นักบินอวกาศภารกิจเสินโจว-19 ไปสถานีอวกาศเทียนกงได้สำเร็จ

จีนประสบความสำเร็จในการนำส่ง 3 นักบินอวกาศขึ้นไปทำงานระยะยาวบนสถานีอวกาศเทียนกงในภารกิจเสินโจว-19   วันที่ 30 ตุลาคม เวลา 03.27 น. ตามเวลาประเทศไทย จรวด Long March 2F นำส่งยานอวกาศเสินโจว-19 ขึ้นจากฐานปล่อยจรวดจิ่วฉวนทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน   ลูกเรือของภารกิจดังกล่าวประกอบด้วย ไช่ซวี่เจ๋อ ผู้บัญชาการภารกิจวัย 48 ปี ที...
NASA
30 ตุลาคม 2024

NASA เลือก 9 พื้นที่ขั้วใต้ดวงจันทร์เพื่อพานักบินอวกาศกลับไปลงจอด

NASA ประกาศ 9 พื้นที่บริเวณใกล้เคียงขั้วใต้ดวงจันทร์สำหรับการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม และเตรียมความพร้อมในการนำนักบินอวกาศไปลงจอดบนพื้นผิวเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ภารกิจอพอลโล 17   วันที่ 28 ตุลาคม องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา หรือ NASA ประกาศเลือก 9 พื้นที่บริเวณใกล้ขั้วใต้ดวงจันทร์เพื่อเป็นจุดลงจอดของยาน Starship HLS พาสองน...
27 ตุลาคม 2024

ดาวหาง C/2024 L5 จะถูกเหวี่ยงออกจากระบบสุริยะ หลังโคจรเข้าไปเฉียดใกล้ดาวเสาร์

นักดาราศาสตร์พบว่าดาวหาง C/2024 L5 (ATLAS) จะถูกเหวี่ยงออกจากระบบสุริยะไปตลอดกาล หลังโคจรเข้าไปเฉียดใกล้ดาวเสาร์เมื่อปี 2022   ดาวหางดวงนี้ถูกพบเป็นครั้งแรกในวันที่ 14 มิถุนายน 2024 โดยระบบติดตามดาวเคราะห์น้อย โครงการ ATLAS หรือ Asteroid Terrestrial-impact Last Alert System ซึ่งเป็นระบบเดียวกับที่ร่วมค้นพบดาวเคราะห์น้อย C/2023 A3 หรือดาว...

MOST POPULAR


Close Advertising
X