×

Politics

5 มิถุนายน 2017

รู้ไหมผมลูกใคร? ชำแหละ ‘ตระกูลการเมือง’ สืบทอด-ผูกขาด-สูญพันธุ์ ในวัฏจักรประชาธิปไตยไทย

     ปี พ.ศ. 2560 เป็นปีที่ 85 ของอายุประชาธิปไตยไทย นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร ประวัติศาสตร์บันทึกเอาไว้ว่าเริ่มต้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475      ในห้วงเวลาที่อายุของประชาธิปไตยผันผ่านมานี้ มีเหตุการณ์เกิดขึ้นมากมาย ท้าทายความเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ โดยเฉพาะรูปแบบประชาธิปไตยแบบตัวแทนของไทย ที...
5 มิถุนายน 2017

จะปรองดองต้องคิดนอกกรอบ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กับข้อเสนอ ‘รัฐบาลผสม’ เพื่อการปรองดองแห่งชาติ

     สองทศวรรษที่แล้ว ศ. ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ให้กำเนิดทฤษฎี ‘สองนคราประชาธิปไตย’ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ความขัดแย้งของการเมืองไทยในช่วง พ.ศ. 2533-2536 สะท้อนแนวคิดทางประชาธิปไตยที่แตกต่างกันระหว่างคนชนบทและชนชั้นกลางจนเกิดวาทกรรม ‘คนชนบทตั้งรัฐบาล คนชั้นกลางล้มรัฐบาล’      ถึงวันนี้ ‘สองนคราประชาธิปไตย’ ยังคงอธิบ...
5 มิถุนายน 2017

‘สร้างสุพรรณฯ ปั้นชาติไทยพัฒนา’ วราวุธ ศิลปอาชา กับโจทย์ใหญ่ในวันที่ไร้เงาบรรหาร

     วันที่การเมืองไทยและจังหวัดสุพรรณบุรีคงเหลือไว้แต่ชื่อของ บรรหาร ศิลปอาชา พร้อมกับมรดกอันเป็นรูปธรรมที่เขาได้ลงมือสร้างและพัฒนาไว้มากมายจนไม่อาจปฏิเสธความยิ่งใหญ่ของเรื่องราวชีวิตชายที่ชื่อบรรหารได้ อีกทั้งรูปแบบและวิธีการทำงานยังแผ่อิทธิพลจนกลายเป็นโมเดลให้หลายคนศึกษาและเดินตาม      ชีวิตของบรรหาร ศิ...
5 มิถุนายน 2017

‘เมื่อทหารเป็นคนกลาง ทุกคนก็รู้ว่าไม่กลาง’ ปอกเปลือกปรองดองในหัวใจสีแดงของจตุพร พรหมพันธุ์

     วันที่กระบวนการปรองดองเดินมาได้ระยะหนึ่งแล้ว เรามีนัดกับ จตุพร พรหมพันธุ์ ประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เพื่อสนทนาภายใต้โมงยามแห่งความขัดแย้งที่อาจปะทุขึ้นได้อีกยาม      บนถนนแห่งความขัดแย้งทางการเมือง เขานำมวลชนออกมาชุมนุมหลายครั้ง และต้องตกอยู่ในชะตากรรมที่ถูกคุมขังในเรือนจำ วนเข้าวนอ...
5 มิถุนายน 2017

ปรองดองในมือทหารจะสลายความขัดแย้งยาวนานนับสิบปีได้จริงหรือ?

     นับเป็นเวลากว่า 3 ปีแล้วที่ประเทศไทยตกอยู่ภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ คสช. ซึ่งประกาศให้การปรองดองเป็นหนึ่งในภารกิจหลักที่จำเป็นต้องเข้ามาจัดการ แต่ในความเป็นจริงแล้วภารกิจปรองดองเพิ่งเริ่มต้นขึ้นในขวบปีที่ 3 ของรัฐบาล คสช. นี้เอง      ท่ามกลางการจับตามองจากหลายฝ่ายว่าการปรองดองครั้งนี้จะเป็น...
5 มิถุนายน 2017

มุมกลับประวัติศาสตร์ในทัศนะของ ‘ชาญวิทย์’ เพราะ ‘เกลียด-กลัว’ จึงต้องคุมอดีต เพื่อคุมปัจจุบัน

     หากเอ่ยถึงคำว่า ‘ประวัติศาสตร์’ หลายคนคงนึกภาพอะไรที่ดูโบราณคร่ำครึ หรือไม่ก็คงเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์ในอดีตที่ผ่านมา โดยมีเวลาเป็นเครื่องบ่งชี้ความยาวนาน หรือความเก่าแก่ของสิ่งเหล่านั้น      อิทธิพลของประวัติศาสตร์ที่มีต่อพัฒนาการของสังคม ความน่าตื่นตาตื่นใจ หรือความน่าหวาดกลัวของสิ่งนี้มีนัยยะที่ซ่อนอยู่ให้...
5 มิถุนายน 2017

ถ้าจะปรองดอง ‘ทหารต้องไม่ใช่คนกลาง’ จากใจพะเยาว์ อัคฮาด แม่ผู้สูญเสียลูกสาวในเหตุการณ์พฤษภา 53

     เป็นเวลากว่า 7 ปีเต็มที่ผู้หญิงคนหนึ่งยังคงปรากฏตัวในสถานที่เดิมซ้ำแล้วซ้ำเล่าเพื่อเรียกร้อง ‘ความยุติธรรม’ ในฐานะของ ‘แม่’ ที่ต้องสูญเสียลูกสาว      พะเยาว์ อัคฮาด แม่ของนางสาวกมนเกด อัคฮาด (เกด) พยาบาลอาสา 1 ใน 6 ผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์กระชับพื้นที่ชุมนุมทางการเมืองที่วัดปทุมวนาราม เมื่อเดือนเมษายนถึงพฤษภาค...
5 มิถุนายน 2017

“ปรองดองต้องมองอนาคตมากกว่าอดีต” ปรองดองในความหมายของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

     นี่ไม่ใช่การปรองดองครั้งแรกของ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และไม่มีใครรับประกันได้ว่ามันจะเป็นครั้งสุดท้าย      ย้อนกลับไปเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้วที่มีการหยิบวาทกรรม ‘ปรองดอง’ มาใช้เป็นครั้งแรกในสมัยพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นรัฐบาล ในวันนั้นอภิสิทธิ์ยังเป็นแค่ส่วนเล็กๆ ของความขัดแย้งในฐานะฝ่าย...

MOST POPULAR


Close Advertising