×

Politics

26 มิถุนายน 2017

‘พลังเก่า-พลังใหม่’ การปะทะครั้งสุดท้ายในการเมืองไทย ผ่านมุมมอง กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด

มองการเมืองไทยผ่านคอนเซปต์รัฐศาสตร์ 4 คอนเซปต์      อาจารย์กุลลดามองว่า การเมืองไทยมีความเป็นเส้นตรงที่ยักเยื้อง และเมื่อเปรียบเทียบกับประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส เราอาจจะอยู่ในเส้นทางที่นำไปสู่ประชาธิปไตยเช่นกัน      การยักเยื้องที่เกิดขึ้นนั้นเป็นการปะทะกันระหว่างพลังเก่ากับพลังใหม่ สภาวะนี้ในปัจจุบันมีความรุนแรงมากก...
23 มิถุนายน 2017

ย้อนรอย ‘สี่ทหารเสือ’ มิตรภาพ อำนาจ ชะตากรรม ตำนานการเมืองไทย พ.ศ. 2475

     บทเกริ่นนำของสโมสรศิลปวัฒนธรรม ในแง่มุมประวัติศาสตร์ ได้อรรถาธิบายต่อเรื่องนี้ไว้อย่างน่าสนใจว่า ก่อนจะถึงยุค ‘สิงห์หนุ่มแห่งกองทัพบก’ - ป.พิบูลสงคราม คือสมัยของ ‘สี่ทหารเสือ’ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 อันได้แก่ นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา นายพันเอก พระยาทรงสุรเดช นายพันเอก พระยาฤทธิอัคเนย์ และนายพันโท พระประศาสน์พิทยาย...
19 มิถุนายน 2017

“ประชาธิปไตยสร้างรัฐบาลที่มีธรรมาภิบาลได้ง่ายกว่าอำนาจนิยม” ดร. เสกสรรค์ ประเสริฐกุล ปาฐกถา ‘การเมืองไทยกับสังคม 4.0’

มีคนเชื่อว่าตัวเองกำลังทำความดีด้วยการเอาคนไม่ดีลงมาจากเวทีอำนาจ จากนั้นก็เขียนกติกาการเมืองขึ้นมาใหม่เพื่อป้องกันไม่ให้คนไม่ดีกลับมามีอำนาจอีก หรือถ้าขึ้นมาได้ ก็ต้องถูกฝ่ายคนดีควบคุมอย่างเข้มข้น        ในงานเสวนา ‘Direk’s Talk ทิศทางการเมืองโลก ทิศทางการเมืองไทย และนโยบายสาธารณะ’ ซึ่งจัดโดยศูนย์วิจัย ดิเรก ชัยนาม...
19 มิถุนายน 2017

สนช. อาจตกเก้าอี้ หาก ‘ขาดประชุม’ แม้ข้อบังคับใหม่ให้ขาดลงมติได้ไม่จำกัด

     ประเด็นการทำหน้าที่ของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. ตกเป็นข่าวใหญ่ในหน้าสื่อมาก่อนหน้านี้ เนื่องจากโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน หรือ iLaw ได้ออกมาเปิดเผยผลการตรวจสอบเกี่ยวกับการเข้าประชุมของสมาชิก สนช. โดยพบสมาชิกอย่างน้อย 7 คน ที่ขาดประชุมเป็นประจำ จนอาจจะเป็นเหตุให้สิ้นสภาพการเป็นสมาชิก สนช. และเมื่อได้ขอข้อม...
15 มิถุนายน 2017

ไม่ได้ไปต่อ! ‘เซตซีโร่’ คำตอบของการปฏิรูปองค์กรอิสระ?

     ถ้าใครติดตามข่าวการเมืองอย่างใกล้ชิด นาทีนี้คงไม่มีวาทกรรมไหนจะร้อนแรงไปกว่า 'เซตซีโร่' ที่กำลังกลายเป็นกระแสร้อนแรงให้หลายคนได้พูดถึง โดยเฉพาะองค์กรอิสระต่างๆ ที่เข้าข่ายว่าจะต้องถูกเซตซีโร่ หรือแม้แต่บรรดานักการเมืองต่างๆ ที่ออกมาเล่นกับกระแสนี้กันอย่างต่อเนื่อง      แต่สำหรับใครที่ไม่ใช่คอการเมือง เซตซีโร่อา...
9 มิถุนายน 2017

จับตางบประมาณรายจ่าย ปี 2561 หลังวาระแรกผ่านฉลุย ‘กลาโหม’ ได้เพิ่มขึ้น

ส่องงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2561 หลัง สนช. ผ่านวาระแรกฉลุย      เมื่อวันที่ 8 มิ.ย. ที่ผ่านมา ที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ลงมติด้วยคะแนนเอกฉันท์ 216 เสียง งดออกเสียง 3 เสียง รับหลักการร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ในวาระแรกขั้นรับหลักการ โดยมีวงเงิน 2.9 ล้านล้านบาท      หลัง...
5 มิถุนายน 2017

เปลือยความคิด ‘ทหาร’ เมื่อคู่ขัดแย้งอาสาเป็น ‘คนกลาง’ ​สร้างปรองดอง

    “ทหารเป็นสถาบัน เรามีอุดมการณ์ในการทำเพื่อประโยชน์ส่วนรวมและเพื่อประเทศชาติโดยไม่ได้ทำเพื่อประโยชน์ของใคร เราอยู่เคียงข้างประชาชนมาตลอด”     คำยืนยันผ่านน้ำเสียงและสีหน้าท่าทางของ เสธ.ต้อง หรือ พลตรี คงชีพ ตันตระวาณิชย์ โฆษกกระทรวงกลาโหม ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ในชุดคณะกรร...
5 มิถุนายน 2017

สุรชาติ เทียนทอง ก้าวข้ามสถานะลูกนักการเมือง ขอทำงานให้ประชาชนแบบโนเนม

     สุรชาติ เทียนทอง เกิดมาในครอบครัวซึ่งมีพ่อชื่อ เสนาะ เทียนทอง นักการเมืองบิ๊กเนมของประเทศไทย หากมองด้วยสายตาคนนอก ไม่มีอะไรน่าแปลกใจที่ปัจจุบันเขากลายมาเป็นนักการเมืองเต็มตัว เพราะน่าจะมีฐานของครอบครัวเป็นแรงส่งให้เดินมาอย่างไม่ยากเย็น     แต่สุรชาติสะท้อนฐานะคนในซึ่งเกิดและเติบโตมาในครอบครัวนักการเมืองว่า สกุล ‘เที...
5 มิถุนายน 2017

รู้ไหมผมลูกใคร? ชำแหละ ‘ตระกูลการเมือง’ สืบทอด-ผูกขาด-สูญพันธุ์ ในวัฏจักรประชาธิปไตยไทย

     ปี พ.ศ. 2560 เป็นปีที่ 85 ของอายุประชาธิปไตยไทย นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร ประวัติศาสตร์บันทึกเอาไว้ว่าเริ่มต้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475      ในห้วงเวลาที่อายุของประชาธิปไตยผันผ่านมานี้ มีเหตุการณ์เกิดขึ้นมากมาย ท้าทายความเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ โดยเฉพาะรูปแบบประชาธิปไตยแบบตัวแทนของไทย ที...
5 มิถุนายน 2017

จะปรองดองต้องคิดนอกกรอบ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กับข้อเสนอ ‘รัฐบาลผสม’ เพื่อการปรองดองแห่งชาติ

     สองทศวรรษที่แล้ว ศ. ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ให้กำเนิดทฤษฎี ‘สองนคราประชาธิปไตย’ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ความขัดแย้งของการเมืองไทยในช่วง พ.ศ. 2533-2536 สะท้อนแนวคิดทางประชาธิปไตยที่แตกต่างกันระหว่างคนชนบทและชนชั้นกลางจนเกิดวาทกรรม ‘คนชนบทตั้งรัฐบาล คนชั้นกลางล้มรัฐบาล’      ถึงวันนี้ ‘สองนคราประชาธิปไตย’ ยังคงอธิบ...

MOST POPULAR


Close Advertising
X