×

Mr.Vop

​ไต้ฝุ่น
17 พฤศจิกายน 2024

ครั้งแรกในรอบ 73 ปีที่ปรากฏ​ไต้ฝุ่น​พร้อมกันถึง 4 ลูก​ในเดือนพฤศจิกา​ยน​

ถือเป็นเรื่องที่ไม่เคยพบมาก่อนตั้งแต่มีการก่อตั้งองค์กรอุตุนิยมวิทยาระหว่างประเทศ (IMO) อย่าง​เป็น​ทางการ ย้อนกลับ​ไป​ถึงปี 1951 นับเป็นเวลาถึง 73 ปี ที่ในปีนี้เกิดการก่อตัวของ​ไต้ฝุ่น​ในเดือนพฤศจิกา​ยนในเวลาไล่เลี่ยกัน​ถึง 4 ลูก​ ได้แก่   ไต้ฝุ่น​หยินซิ่ง (銀杏 / Yinxing) หรือ Marce​ ตามวิธีการ​เรียก​แบบ​ฟิลิปปินส์​ ก่อตัววันที่ 4 พ...
แมกมา
8 พฤศจิกายน 2024

แมกมาที่พบตามซากภูเขาไฟโบราณดับสนิท อาจเป็นที่มาของแหล่งพลังงานแห่งอนาคต

เมื่อต้นปี 2023 มีรายงานการค้นพบแร่ธาตุหายาก หรือ ‘แรร์เอิร์ธ’ ปริมาณมากกว่า 1 ล้านตันในพื้นที่คิรูนา ทางตอนเหนือของประเทศสวีเดน   ถือเป็นข่าวที่สร้างความตื่นเต้นในวงการด้านนี้อยู่พอสมควร ด้วยเหตุที่แร่ธาตุหายากเป็นของจำเป็นในการผลิตพลังงานสะอาด ทั้งแบตเตอรี่สำหรับยานยนต์ไฟฟ้า หรือรถ EV, นำมาผลิตซีเรียม (Ce) ที่ถูกใช้ในตัวเร่งปฏิกิริยาเพ...
AI เวทีโนเบล
11 ตุลาคม 2024

เมื่อ AI เฉิดฉายในเวทีโนเบล กับดาบสองคมที่อาจดิสรัปต์วงการและคุกคามมนุษยชาติ

ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ที่กำลังมีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์มากขึ้นเรื่อยๆ กลายเป็นไฮไลต์สำคัญหรือถือเป็นพระเอกของเวทีประกาศรางวัลโนเบลประจำปี 2024 เลยก็ว่าได้ หลังสาขาหลักทางวิทยาศาสตร์​ 2 สาขา อันได้แก่ ​ฟิสิกส์ และเคมี ต่างก็มีผู้ชนะรางวัล​ด้วยผลงานที่เกี่ยวข้องกับปัญญา​ประดิษฐ์​เป็น​หลัก ซึ่งถือเป็นเรื่องที่ไม่เคยมีมาก่อน   เจฟฟรีย์...
โครงข่ายประสาทเทียม
11 ตุลาคม 2024

กว่าจะมาเป็น AI ย้อนต้นกำเนิดโครงข่ายประสาทเทียม สู่โนเบลฟิสิกส์ปี 2024 และคำเตือนจากหนึ่งในบิดาแห่ง AI

ประกาศแล้วสำหรับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี 2024 ซึ่งปีนี้เป็นของ จอห์น โจเซฟ ฮอปฟิลด์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันจากมหาวิทยาลัย​พรินซ์ตัน​ ที่ได้รับรางวัลนี้ร่วมกับ เจฟฟรีย์ อี. ฮินตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวแคนาดา-อังกฤษจากมหาวิทยาลัยโทรอนโต ในผลงานการค้นพบและประดิษฐ์กลไกเพื่อวางรากฐาน​ให้ AI สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านทาง โครงข่ายประสาทเทียม ...
โนเบล
10 ตุลาคม 2024

3 นักวิทย์ที่สร้างผลงานเกี่ยวกับโครงสร้างของโปรตีน คว้าโนเบลสาขาเคมีปี 2024

รางวัลโนเบลสาขาเคมีปี 2024 ที่ประกาศโดยราชบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดน เป็นของนักวิทยาศาสตร์ 3 คนที่สร้างผลงานเกี่ยวกับโครงสร้างของ โปรตีน   รางวัลถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นของ ศ.เดวิด เบเกอร์ (David Baker) ผู้อำนวยการสถาบันการออกแบบโปรตีนจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวอชิงตัน ในซีแอตเทิล สำหรับการออกแบบโปรตีนเชิงคำนวณ รางวัลส่วน...
แม่เหล็กตัวต้านทาน
27 กันยายน 2024

จีนสร้างแม่เหล็กตัวต้านทาน แรงกว่าสนามแม่เหล็กโลกกว่า 800,000 เท่า

ทีมนักวิทยาศาสตร์จีนจากสถาบันวิทยาศาสตร์กายภาพเหอเฝย พัฒนา​แม่เหล็กตัวต้านทานจนมีสนามแม่เหล็กคงที่ที่ 42.02T (เทสลา)​ ทำลายสถิติ​โลกเดิมของห้องวิจัย National MagLab ในสหรัฐ​ฯ ที่ทำไว้ 41.4T ในปี 2017 ได้สำเร็จ​   และหากนำไปเทียบกับขนาดสนามแม่เหล็ก​โลกที่วัดค่าได้บริเวณ​กรุงลอนดอน​ซึ่งอยู่ที่ 50µT (ไมโครเทสลา) ถือว่าแม่เหล็กตัวต้านทานของจ...
สึนามิ
16 กันยายน 2024

ครบรอบ 1 ปี สึนามิลึกลับสูงถึง 200 เมตรในกรีนแลนด์ ที่นักวิทยาศาสตร์เพิ่งพบสาเหตุ

เคยมีคนกล่าวไว้ว่า ภัยพิบัติที่เกิดในที่เปลี่ยวร้างไร้ผู้คนนั้น ไม่นับว่าเป็นภัยพิบัติ และไม่ว่าท่านจะเห็นด้วยกับคำพูดนี้หรือไม่ เมื่อเดือนกันยายน 2023 หรือก็คือครบรอบ 1 ปีที่ผ่านมา เคยมีคลื่นสึนามิที่มีความสูงของยอดคลื่นสูงถึง 200 เมตร เกิดขึ้นมาจริงๆ บนโลกใบนี้ โดยไม่มีใครทราบเรื่องขณะเกิดเหตุเลย   ปกติแล้วคลื่นสึนามิจะเกิดจากการแทนที่...
18 สิงหาคม 2024

นัก​วิทย์อาจ​ไขปริศนา​ได้แล้วว่า ทำไมเราแทบไม่เคยพบเศษ​ซากอุกกาบาต​ที่ทำให้ไดโนเสาร์​สูญพันธุ์​

ทุกวันนี้เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่า ต้นเหตุ​ที่ทำให้เกิดการสูญพันธุ์​ของไดโนเสาร์​ปลายยุคครีเทเชียส​จนถึงต้นยุคพาลีโอจีน ซึ่งเป็นการสูญพันธุ์ใหญ่ครั้งที่ 5 ของโลกเรานั้น เกิดจากการที่มีวัตถุอวกาศขนาดยักษ์พุ่งเข้าชนบริเวณ​คาบสมุทรยูคาตันในเมืองชิกซูลุบ ประเทศเม็กซิโก ​ แต่กว่าที่แนวคิดนี้จะเป็นที่ยอมรับ ก็ผ่านช่วงเวลา​แห่งการถกเถียง​กันอย่างกว้...
แอ่งนันไค
11 สิงหาคม 2024

ทำไมญี่ปุ่นอาจเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ในแอ่งนันไค จนทางการออกมาเตือน

หลังเกิดแผ่นดินไหว​​ขนาด 7.1 ในทะเลฮิวงะ เมื่อช่วงบ่ายวันที่​ 8 สิงหาคม​ที่ผ่านมา​ ทำให้เกิดสึนามิสูง 50 เซนติเมตร ที่ท่าเรือมิยาซากิ และ 40 เซนติเมตร ที่ท่าเรือโทสะชิมิสึ ความกังวลถึงแผ่นดินไหว​ครั้งใหญ่ใน ‘แอ่งนันไค’ ​ซึ่งเชื่อมต่อกับจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวครั้งล่าสุดนี้ ก็แพร่ไปตามสื่อของทางการญี่ปุ่น​   ต้นทางของข่าวมาจากคำเตือนของสำน...
10 สิงหาคม 2024

กระแสน้ำที่ทำหน้าที่รักษาสมดุลอุณหภูมิ​ในมหาสมุทร​แอตแลนติก​ อาจหยุดไหลในอีกไม่​เกิน​ 20 ปีจากนี้

เป็นที่โต้เถียงกันมานานในหมู่นักวิชาการ​ว่า วิกฤตโลกร้อนจะส่งผลให้ ‘การหมุนวนกระแสน้ำย้อนกลับ​ตามแนวเหนือ-​ใต้​ในมหาสมุทร​แอตแลนติก’​ (Atlantic Meridional Overturning Circulation)​ หรือ AMOC อาจเกิดการอ่อนแรงลงจนล่มสลายไปภายในศตวรรษนี้หรือไม่นั้น ล่าสุดมีงานวิจัยที่ค้นพบคำตอบนี้   ทีมนักวิทยาศาสตร์ด้านสมุทรศาสตร์และชั้นบรรยากาศจากมหาวิทย...


X