×

รศ.ดร. อานนท์ มาเม้า

22 พฤศจิกายน 2024

กฎหมายสมรสเท่าเทียม เริ่มมีผลบังคับวันใดกันแน่?

​หลังจากที่พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2567 หรือที่รู้จักกันในชื่อ ‘กฎหมายสมรสเท่าเทียม’ ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2567 ก็ถือว่ากฎหมายดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในประเทศไทย    เนื่องจากการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นขั้นตอนสุดท้ายที่แสดงถึงความเสร็จสิ้นบริบ...
8 กรกฎาคม 2024

วันชาติสหรัฐฯ ประวัติศาสตร์การเพรียกหา ‘ผู้แทนราษฎร’

นัยของวันชาติ   เชื่อว่าหลายคนยังจำบทความสุดท้ายของอาจารย์นิธิ เอียวศรีวงศ์ ที่เขียนก่อนล่วงลับได้ นั่นคือบทความชื่อ ‘วันชาติ’ ซึ่งเผยแพร่ออกมาในช่วงเดือนกรกฎาคมของปีที่แล้ว   บทความดังกล่าวได้จุดประเด็นให้ผู้คนในสังคมไทยได้ขบคิดเกี่ยวกับการสถาปนาวันชาติ   เนื่องจากเพิ่งผ่านวันที่ 4 กรกฎาคม ซึ่งถือว่าเป็น ‘วันชาติของส...
เลือก สว.
1 กรกฎาคม 2024

สว. เป็นผู้แทนใคร? เปิด 7 ปัญหาเลือก สว. ไทย

ในโอกาสที่บางคนกำลังยินดีที่การ เลือก สว. ระดับประเทศเพิ่งผ่านพ้นไป ซึ่งหมายความว่าคนไทยจะได้เห็นหน้าค่าตา สว. ชุดใหม่ตามกลไกของรัฐธรรมนูญปี 2560 ในไม่ช้า   ผู้เขียนคิดว่า มีเรื่องที่สังคมไทยต้องหยุดคิดทบทวนว่า การได้มาซึ่ง สว. ที่ผ่านการ ‘เลือก’ (Select) ตามกระบวนการที่รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ประกอบกฎหมายลูกซึ่งขยายรายละเอียดนั้น เป็นเรื...
สมรสเท่าเทียม
18 มิถุนายน 2024

8 เรื่องต้องรู้ เมื่อสมรสเท่าเทียมผ่านรัฐสภาไทย

วันที่ 18 มิถุนายน 2567 ถือเป็นวันประวัติศาสตร์ในเรื่องความหลากหลายทางเพศของไทย เพราะเป็นวันที่วุฒิสภามีมติให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือที่เรียกกันลำลองว่า ‘ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม’ หลังจากที่สภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นสภาชั้นแรก ได้ผ่านร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวไปเมื่อวันที่ 27 มีนาคมที่ผ่านมา   ...
1 มิถุนายน 2024

ความเป็นมาและเป็นไปของ ‘Pride Month’ ที่ชื่อเดือนไม่เกี่ยวกับงาน Pride

​ขณะนี้เริ่มต้นเข้าสู่เดือนมิถุนายน หลายคนคงรับรู้ได้ถึงการประดับประดาตกแต่งถนนและสถานที่ต่างๆ ด้วยสีรุ้ง รวมทั้งการเกิดขึ้นของกิจกรรมจำนวนมากที่เกี่ยวกับสิทธิในความหลากหลายทางเพศ บรรยากาศของเทศกาลสนับสนุนเรื่อง LGBTQIA+ อบอวลไปทั่ว สร้างสีสันให้กับชีวิตประจำของผู้คนไปพร้อมกับการตระหนักรู้ถึงความเท่าเทียมและความหลากหลายตลอดเดือนนี้   ​หล...
LGBTQIA+
17 พฤษภาคม 2024

เนื่องในวันยุติโฮโมโฟเบียสากล ความหวังต่อการยุติการเกลียดกลัว LGBTQIA+

เมื่อตอนกลางวันได้เห็นคลิปสั้นๆ ของสำนักข่าว THE STANDARD ที่ท่านทูตไวน์คาร์เดิน เอกอัครราชทูตเนเธอร์แลนด์ประจำประเทศไทย ได้กล่าวถ้อยคำเป็นกำลังใจต่อการส่งเสริมความเป็นธรรมทางเพศและยุติความไม่เท่าเทียมที่เกิดขึ้นกับกลุ่ม LGBTQIA + เนื่องในวัน International Day Against Homophobia, Biphobia and Transphobia ผมก็อดไม่ได้ที่อยากจะบอกเล่าเรื่องราว ข้อสัง...
LGBTQIA+ จะเป็น ‘บุพการี’ ของใครสักคนได้ไหม
8 เมษายน 2024

LGBTQIA+ จะเป็น ‘บุพการี’ ของใครสักคนได้ไหม

จุดประเด็น   เป็นที่น่ายินดีที่สภาผู้แทนราษฎรได้ให้ความเห็นชอบร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2567 และต่อมาเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2567 วุฒิสภาได้ให้ความเห็นชอบร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมในวาระที่ 1 รับหลักการ ส่งผลให้ร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่การพิจารณาของวุฒิสภาในขั้นตอนอื่นๆ ดังที่ได้ทราบกัน   อย่างไรก็ดี ประเด็นที่มีการห...
รศ.ดร.อานนท์ มาเม้า
4 มีนาคม 2024

‘สมรสเท่าเทียม’ ในความเงียบ เมื่อสังคมไปไกล แต่กฎหมายยังช้า

“...ในเรื่องการสมรส ตามจารีตประเพณีที่มีมาช้านาน วัตถุประสงค์ของการสมรสคือการที่ชายและหญิงอยู่กินกันฉันสามีภริยาเพื่อสร้างสถาบันครอบครัว มีบุตร ดำรงเผ่าพันธุ์ตามธรรมชาติ และมีการสืบทอดทรัพย์สิน มรดก มีการส่งต่อความผูกพันกันระหว่างพ่อ แม่ พี่ น้อง ลุง ป้า น้า อา ซึ่งการสมรสในระหว่างบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศอาจไม่สามารถสร้างความผูกพันอันละเอียดอ่อ...


X