×

ศุภกิจ พัฒนพิฑูรย์

ยื้อชีวิตผู้ป่วยโควิด-19
2 มิถุนายน 2021

หายใจทางลำไส้ ทางรอดใหม่ของการยื้อชีวิตผู้ป่วยโควิด-19

โรคโควิด-19 นั้นอยู่กับเรามาแล้วเกือบ 2 ปีแล้ว ซึ่งเชื้อร้ายมักทำลายเนื้อเยื่อถุงลมในปอดของผู้ป่วยได้ การรักษาผู้ป่วยที่มีอาการหนักจึงไม่พ้นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ แต่ในการระบาดครั้งใหญ่นี้ ภาวะขาดแคลนเครื่องมือแพทย์เกิดขึ้นไปทั่ว คำถามคือยังมีวิธีการอื่นอีกไหมที่เราจะต่อลมหายใจของผู้ที่ติดเชื้อได้   ทีมนักวิทยาศาสตร์นำโดย ศ.ดร.นพ.ทากาโน...
นักบินอวกาศ
2 เมษายน 2021

เมื่อจุลินทรีย์ตัวจิ๋วเดินทางไปนอกโลก นักวิทยาศาสตร์ค้นพบอะไรบ้างเกี่ยวกับแบคทีเรียในสภาวะไร้น้ำหนัก

ในอนาคตอันใกล้นี้มนุษยชาติน่าจะได้เดินทางไปแตะเส้นกั้นเขตแดนระหว่างโลกกับอวกาศบ่อยขึ้น ทำให้การศึกษาธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในสภาวะไร้น้ำหนักจึงเป็นสิ่งจำเป็น แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่ด้วยจำนวนอันมหาศาล ความสามารถทางเมตาบอลิซึมที่สามารถสังเคราะห์สารสำคัญๆ ขึ้นมาได้ และอัตราการกลายพันธุ์ที่แสนรวดเร็ว ส่งผลให้พวกมันส...
นักล่าหญิง
22 กุมภาพันธ์ 2021

เมื่อผู้ชายไม่ได้ผูกขาดความเป็นนักล่า ขุดหลักฐาน ย้อนอดีตรู้จัก ‘นักล่าหญิง’ แห่งโลกยุคหิน

ย้อนไปเมื่อ 9,000 ปีที่แล้ว กลางทุ่งหญ้าบนที่ราบสูงแห่งเทือกเขาแอนดีส กลุ่มนักล่ากำลังซุ่มตัว หนึ่งในนั้นลุกขึ้นยืนง้างแขนเตรียมขว้างหอกปลายแหลมที่ประดิษฐ์ขึ้นมาจากหินเรียบง่าย หมายปลิดชีพบิกุญญาที่อยู่ห่างไปไม่ไกล เมื่อการล่าสิ้นสุดลง กลุ่มนักล่าเดินทางกลับที่พักพร้อมซากสัตว์ที่จะนำไปใช้ปรุงอาหารสำหรับค่ำคืนนี้   จากข้อความสมมติข้างต้น ...
ทฤษฎีวิวัฒนาการ มนุษย์ไม่ได้เกิดมาจากลิง แต่เราและลิงเป็นญาติกัน
9 กุมภาพันธ์ 2021

ทฤษฎีวิวัฒนาการ มนุษย์ไม่ได้เกิดมาจากลิง แต่เราและลิงเป็นญาติกัน

ตั้งแต่ ‘ชีววิทยา’ เริ่มแยกตัวออกมาจากธรรมชาติวิทยาและปรัชญาธรรมชาติเมื่อต้นศตวรรษที่ 19 และแขนงการศึกษาย่อยๆ ในกลุ่มวิชานี้เริ่มลงเสาเข็มก่อรากฐานขึ้น คงไม่มีแนวคิดพื้นฐานใดที่ส่งผลกระทบต่อชีววิทยาและสังคมมนุษย์ในวงกว้างได้เท่ากับ ‘วิวัฒนาการ’ แล้ว นอกจากนี้แนวคิดเรื่อง ‘วิวัฒนาการ’ ยังเป็นสิ่งที่มีผู้คนจำนวนมากเข้าใจผิด นับตั้งแต่ที่ ชาร์ลส์ ด...
ทำไมคนเรารับข้อมูลเดียวกัน แต่ตีความต่างกัน สำรวจการทำงานของสมอง เพื่อเข้าใจการคิดต่างทางการเมือง
24 พฤศจิกายน 2020

ทำไมคนเรารับข้อมูลเดียวกัน แต่ตีความต่างกัน สำรวจการทำงานของสมอง เพื่อเข้าใจการคิดต่างทางการเมือง

ในช่วงโมงยามที่ความคิดทั้งสองฟากฝ่ายกำลังเข้าปะทะกัน หากถอยห่างออกมาจากสถานการณ์คุกรุ่นสักนิด เราจะพบกับเหตุการณ์น่าประหลาดบางอย่าง เมื่อข้อมูลข่าวสารชุดเดียวกันอาจจะถูกรับรู้และนำไปตีความได้แตกต่างกันอย่างสุดขั้ว โดยกลุ่มผู้คนที่มีความคิดความเชื่อต่างกัน   ปรากฏการณ์นี้เป็นที่สนใจของนักวิจัยด้านสมองจำนวนมาก เพราะการทำความเข้าใจว่ารากฐาน...
‘เบอเรียล ต่อมน้ำลาย ผู้ป่วยมะเร็งลำคอ
26 ตุลาคม 2020

‘ทูเบอเรียล’ ต่อมน้ำลายแห่งใหม่ที่เพิ่งถูกค้นพบ ต่อความหวังผู้ป่วยมะเร็งลำคอ

ร่างกายมนุษย์ยังคงมีปริศนาที่รอการค้นพบอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นหน้าที่ใหม่ของปอดที่สามารถสร้างเกล็ดเลือดได้ อวัยวะใหม่ ‘Interstitium’ บริเวณช่องท้อง และล่าสุด ต่อมน้ำลายแห่งใหม่บริเวณด้านหลังโพรงจมูก ซึ่งหลบเลี่ยงสายตาของนักกายวิภาคมาได้นานนับพันปี ก่อนที่จะถูกค้นพบด้วยเทคนิคทางรังสีวิทยาสุดล้ำในปี 2020   เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2020 ทีมนักว...
ทำความรู้จักเทคนิคการตัดแต่งจีโนมยุคใหม่ งานวิจัยที่คว้ารางวัลโนเบลสาขาเคมี 2020
8 ตุลาคม 2020

ทำความรู้จักเทคนิคการตัดแต่งจีโนมยุคใหม่ งานวิจัยที่คว้ารางวัลโนเบลสาขาเคมี 2020

รางวัลโนเบลสาขาเคมีประจำปี 2020 ถูกมอบให้แก่นักวิทยาศาสตร์หญิง 2 ท่าน คือ เอ็มมานูแอลล์ ชาร์ปงทิเย (Emmanuelle Charpentier) จากหน่วยวิจัยมักซ์ พลังค์สำหรับวิทยาศาสตร์ของเชื้อก่อโรค (Max Planck Unit for the Science of Pathogens) และ เจนนิเฟอร์ เอ ดอดนา (Jennifer A. Doudna) แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย-เบิร์กลีย์ สำหรับการพัฒนาวิธีตัดแต่งจีโนม (Genome...
nobel physics prize black hole
7 ตุลาคม 2020

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ปี 2020 กับงานวิจัยที่ทำให้มนุษย์เข้าใจหลุมดำมากขึ้น

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี 2020 อุทิศให้กับการทำความเข้าใจวัตถุลึกลับที่มาพร้อมกับปริศนาดำมืดที่สุดในเอกภพ นั่นคือ ‘หลุมดำ’ (Black Hole)   เงินรางวัลจำนวน 10 ล้านโครนจากการมอบรางวัลโนเบลครั้งนี้จะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน ครึ่งแรกมอบให้แก่ โรเจอร์ เพนโรส (Roger Penrose) จากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด สำหรับการค้นพบว่าการก่อเกิดหลุมดำสอดคล้องกับ...
Science Find นักวิทยาศาสตร์
6 ตุลาคม 2020

3 นักวิทยาศาสตร์ผู้ค้นพบไวรัสตับอักเสบซี คว้าโนเบลสาขาการแพทย์ปี 2020

คณะกรรมการพิจารณารางวัลโนเบล ได้ตัดสินใจมอบรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ ประจำปี 2020 แก่ ฮาร์วีย์ เจ อัลเทอร์, ไมเคิล ฮอตัน และชาร์ลส์ เอ็ม ไรซ์ 3 นักวิทยาศาสตร์ผู้ค้นพบไวรัสตับอักเสบซี (Hepatitis C virus)   สร้างสารควบคุมการแข็งตัวของเลือด สร้างน้ำดีเพื่อช่วยย่อยไขมันและดูดซึมวิตามิน กำจัดสารพิษ เก็บสะสมสารอาหาร ทั้งหมดที่กล่าวม...

Close Advertising