×

เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม

Ways to Find Happiness
12 พฤศจิกายน 2019

เราจะมีความสุขได้อย่างไรในโลกที่เต็มไปด้วยความไม่แน่นอน

ผมยังจำได้ว่าตอนเด็กๆ ผมอยากโตขึ้นไปเป็นคนที่ทำงานอยู่กับเกมคอมพิวเตอร์ อยากเป็นนักออกแบบเกม อยากเป็นเจ้าของร้านเกม อยากทำงานอะไรก็ได้ที่เกี่ยวกับการเล่นเกม เพราะตอนเด็กๆ ผมชอบเล่นเกมคอมพิวเตอร์มาก (และปัจจุบันนี้ผมก็ยังเล่นเกมอยู่เป็นประจำ) ผมโตมาในยุค 80 กับเกมอาตาริ ซูเปอร์แฟมิคอม และนินเทนโด และยังจำความสุขตอนเล่นเกมได้เสมอ   แต่แล้ว...
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
4 พฤศจิกายน 2019

จูงใจหรือยัดเยียด ทำความรู้จักการใช้ Nudge วิธีสะกิดเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม

ผู้เขียนไปกินข้าวที่ร้านอาหารแห่งหนึ่งในลอนดอน ตอนจะจ่ายเงินพบว่าในบิลเรียกเก็บเงินมีรายการหนึ่งที่น่าสนใจมากคือ ‘เงินบริจาคจำนวน 1 ปอนด์’ (ประมาณ 39 บาท) ให้กับองค์กรการกุศลที่จะนำเงินไปช่วยเด็กๆ ที่ขาดแคลนอาหาร พร้อมแนบแผ่นพับเล็กๆ แนะนำว่าองค์กรนั้นทำอะไรบ้าง   การคิดเงินแบบนี้เป็นหนึ่งในวิธีการ Nudge (สะกิดให้เกิดพฤติกรรม) ที่เรียกว่...
พฤติกรรมแยกขยะ
17 ตุลาคม 2019

ผลการทดลองเผย พฤติกรรมแยกขยะสร้างได้ หากไม่ขี้เกียจและคิดเยอะ

จากการศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการจัดการบรรจุภัณฑ์หลังการบริโภคในประเทศไทย พบว่า บรรจุภัณฑ์ประเภทขวดพลาสติกใส (PET) และกระป๋องอะลูมิเนียมมีเพียงไม่ถึงครึ่งหนึ่งที่ถูกนำกลับเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล เพราะไม่มีการแยกขยะอย่างเหมาะสมตั้งแต่ต้นทาง   ด้วยเหตุนี้ โคคา-โคลา ประเทศไทย จึงได้ร่วมมือกับ แสนสิริ และ ศูนย์เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมและการทดลอง คณะ...
Pain of paying
13 กันยายน 2019

ควักเงินสดมันเจ็บปวด รูดก่อนจ่ายทีหลังสบายใจกว่า รู้จักอาการ ‘เจ็บปวดจากการจ่าย’ พร้อมวิธีง่ายๆ ในการเซฟเงิน

เวลาไปซื้อของแล้วจ่ายด้วยบัตรเครดิต ความรู้สึกแตกต่างจากการจ่ายด้วยเงินสดกันไหมคะ    หลายคนอาจรู้สึกว่าเวลาใช้บัตรเครดิตจ่ายเงินแล้วทำให้ใช้เงินง่าย ไม่ค่อยเจ็บปวดเท่าไร แต่พอต้องควักเงินสดออกจากกระเป๋าสตางค์จะแอบมีความรู้สึกเจ็บปวดบางอย่าง มันไม่ใช่ความเจ็บปวดทางกายแบบเดินสะดุดหกล้ม แต่เป็นความรู้สึกปวดใจ ทั้งๆ ที่เป็นเงินมูลค่าเท่...
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
27 สิงหาคม 2019

อยากกิน อยากช้อป… แต่ก็อยากเก็บเงิน ความย้อนแย้งอันขมขื่นของชีวิตที่พิชิตได้ด้วยเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม

บอกกับตัวเองว่าอยากเก็บเงิน แต่อยู่ๆ ก็เกิดอาการอยากกินซูชิ อยากกินนี่นั่นโน่นเต็มไปหมด ถ้าให้ตอบตัวเองว่า “ก็อย่ากินสิ จะได้เก็บเงินได้” ก็คงจะขัดกับความรู้สึกของคนที่รักการกินอย่างเรา   ‘อยากกิน...แต่ก็อยากเก็บ’ น่าจะเป็นเหตุการณ์ที่หลายคนเคยเจอ ยิ่งปัจจุบันมีขนม เครื่องดื่ม อาหาร หรือสินค้าใหม่ๆ มานำเสนอให้ลองกินลองใช้ตลอด ทั้งจากเพื่...
15 มกราคม 2019

รวิศ หาญอุตสาหะ “ผมตัดสินใจรีแบรนด์ศรีจันทร์จากการอ่านหนังสือ”

รวิศ หาญอุตสาหะ ชื่อที่หลายคนรู้จักในฐานะผู้บริหารที่ลุกขึ้นมารีแบรนด์เครื่องสำอางศรีจันทร์จนประสบความสำเร็จ หรือในฐานะของเจ้าของเพจ Mission to the Moon ที่มีผู้ติดตามกว่า 200,000 คน แต่ไม่ว่าในมุมไหน เชื่อหรือไม่ว่าสิ่งที่เขาคิดและตัดสินใจทำล้วนได้แรงบันดาลใจจากการอ่านหนังสือ THE STANDARD POP ชวน รวิศ หาญอุตสาหะ มานั่งคุยในฐานะนักอ่านตัวยงที่มีหนั...
18 กรกฎาคม 2018

เปิดโปงสารพันเหตุผลของคนขี้โกง โดยนักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม

เป็นที่รู้ๆ กันอยู่นะครับว่าปัญหาคอร์รัปชันนั้นเป็นปัญหาที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองของเรามานานเเล้ว เเละปัญหาคอร์รัปชันก็ยังเป็นปัญหาที่ไม่ว่าใครจะเข้ามาเเก้ไขก็เเก้ไม่ได้เสียที   มาวันนี้ผมก็เลยอยากจะนำผลงานวิจัยหลายๆ ชิ้นของ แดน อารีลีย์ ที่เคยทำเกี่ยวกับพฤติกรรมการโกงของเพื่อนร่วมงานเขามาเขียนเป็นบทสรุปให้คุณผู้อ่านที่อาจจะไม่เคยอ่านงานข...
18 มิถุนายน 2018

ทำไมลูกไม้จึงมักจะหล่นไม่ไกลต้น เดินตามรอยเท้าพ่อแม่ดีกับเด็กๆ จริงหรือ

คุณคิดว่าลูกไม้มักหล่นไม่ไกลต้นหรือเปล่าครับ   ผมเชื่อว่าถ้าเราเป็นคนที่เก่งการวาดเขียน ลูกของเราก็คงจะเก่งเรื่องการวาดเขียนด้วย หรือถ้าเราเป็นคนที่เก่งการคำนวณ ลูกของเราก็คงจะเก่งการคำนวณด้วย ซึ่งก็เป็นสิ่งที่น่าภูมิใจสำหรับผู้ปกครองทุกคนนะครับที่ลูกหลานมี skill sets ที่คล้ายๆ กันกับเรา   และถ้าลูกของเรามี skill sets ที่คล้าย...
21 พฤษภาคม 2018

Prospect Theory เศรษฐศาสตร์บนความเสี่ยง ทำไมบางคนเลือกจะเป็นโสด และต้นกำเนิดของผีพนัน

ถ้าคุณจำเป็นต้องเลือกระหว่างได้ 20,000 บาทชัวร์ๆ หรือโอกาส 50-50 ที่จะได้ 40,000 บาทหรือไม่ได้อะไรเลย คุณจะเลือกอะไรครับ   โอเค แล้วสมมติว่าถ้าผมดัดแปลงตัวเลือกทั้งสองตัวนิดหน่อย โดยการเปลี่ยนคำว่า ‘ได้’ เป็นคำว่า ‘เสีย’ แบบนี้   เสีย 20,000 บาทชัวร์ๆ หรือโอกาส 50-50 ที่จะเสีย 40,000 บาทหรือไม่เสียอะไรเลย คุณจะเลือกอะไรครับ ...
20 เมษายน 2018

Them VS. Us กำแพงแห่งความต่างที่ทำให้ความบาดหมางร้าวลึกกว่าเดิม

เมื่อประมาณปี 2002 ผมและเพื่อนๆ คนไทยที่กำลังเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยวอร์ริกมักจะมีนัดเตะบอลด้วยกันบ่อยๆ มีอยู่วันหนึ่ง รุ่นพี่ปริญญาเอกคนไทยคนหนึ่งก็มาบอกกับพวกเราว่าเขาได้นัดกับคนไทยจากมหาวิทยาลัยโคเวนทรี ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในถิ่นเดียวกันมาเตะบอลกระชับมิตรกับพวกเรา พอได้ยินดังนั้น พวกเราเหล่านักเรียนวอร์ริกซึ่งไม่เคยได้พบเจอเด็กไทยจากโค...

Close Advertising