×

วัฒนธรรม

In Between
26 มีนาคม 2022

In Between: ทวิลักษณ์และการกบฏของคนนอกคอก ในคอสตูมของ 5 ภาพยนตร์เข้าชิงออสการ์ ครั้งที่ 94 สาขาเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม

  เป็นเรื่องน่าประหลาดที่เมื่อได้เห็นรายชื่อภาพยนตร์ซึ่งได้รับการเสนอเข้าชิงรางวัลออสการ์ครั้งที่ 94 ประเภทเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยมประจำปี 2022 แล้วพบว่าทุกเรื่องนั้นล้วนแล้วแต่เป็นภาพยนตร์ Remake ที่เกิดจากการนำเรื่องเก่ามาเล่าใหม่ทั้งสิ้น    ทว่าภายใต้การตั้งข้อคำถามถึงประเด็นความคิดสร้างสรรค์ในการเล่าเรื่องว่าเกิดอะไรข...
St. Sophia Cathedral
7 มีนาคม 2022

St. Sophia Cathedral มรดกทางวัฒนธรรมอายุกว่าพันปีที่อาจสูญหายตลอดกาลจากภัยสงคราม

คนที่เคยดูภาพยนตร์เรื่อง The Monuments Men หรือชื่อไทยว่า กองทัพฉกขุมทรัพย์โลกสะท้าน มาก่อน คงพอเข้าใจความเกี่ยวโยงระหว่างสงครามและศิลปะ เรื่องราวของกลุ่มเจ้าหน้าที่ภัณฑารักษ์ในพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่จำเป็นต้องออกมาทำภารกิจฉกชิง ป้องกัน และขนย้ายงานศิลปะมูลค่ามหาศาล เพื่อปกป้องสมบัติของประเทศจากภัยสงคราม สงครามไม่เพียงแต่ทำลายชีวิตและทรัพย์สิน และยังอาจ...
เขาแดง สงขลา
5 มีนาคม 2022

บุกรุกเขาน้อย-เขาแดง คือความพินาศของภูมิวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของเมืองสงขลา

การบุกรุกทำลายพื้นที่รอบโบราณสถานโดยนายทุนและนักการเมืองเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศไทย ล่าสุดกรณีพื้นที่ของเขาน้อยและเขาแดง อ.สิงหนคร จ.สงขลา ซึ่งมีโบราณสถานสมัยศรีวิชัยเพียงไม่กี่แห่งในคาบสมุทรภาคใต้ กลุ่มโบราณสถานในสมัยอยุธยา ซึ่งสะท้อนรากเหง้าและตัวตนของสงขลา ถือเป็นภูมิทัศน์วัฒนธรรมชั้นยอด มีสภาพน่าเป็นห่วง ถูกบุกรุกจนเกือบประชิดโบราณสถาน โดยเฉพาะวั...
โนรา
16 ธันวาคม 2021

นายกฯ ยินดี UNESCO ประกาศขึ้นทะเบียน ‘โนรา’ เป็นมรดกโลกด้านภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

วันนี้ (16 ธันวาคม) ธนกร วังบุญคงชนะ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมรับทราบว่า ‘โนรา’ (Nora) หรือ ‘มโนราห์’ ศาสตร์การรำของไทย ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนจากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ให้เป็นมรดกโลกด้านภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ขอ...
The Birth of Korean Cool
11 พฤศจิกายน 2021

The Birth of Korean Cool หนังสือที่กระทรวงวัฒนธรรมควรอ่านก่อนจะส่งออก Soft Power

“ประเทศปกครองโดยเผด็จการ รัฐบาลเอื้อนายทุน ความเหลื่อมล้ำสูงมาก นักเรียนแต่งตัวเหมือนกันหมด ครูลงโทษนักเรียนอย่างรุนแรง ต้นทุนวัฒนธรรมบันเทิงแทบไม่มี หนังและละครโปรดักชันคุณภาพต่ำ วนเวียนอยู่กับเรื่องน้ำเน่ายุงชุม คนไม่ดูหนังและดูถูกละครของประเทศตัวเอง”    ผู้เขียนไม่ได้พูดถึงประเทศแถวนี้ แต่นี่คือเกาหลีใต้ก่อนยุค 90 แล้วเพราะอ...
korean-shaman
30 ตุลาคม 2021

‘มูดัง’ (무당) ร่างทรงแห่งเกาหลี องค์ประทับแห่งความศรัทธา

นอกจากภาพยนตร์ ‘ร่างทรง’ ที่เป็นการร่วมทุนระหว่างไทย-เกาหลีแล้ว ความเชื่อเรื่องคนทรงเจ้าและหมอผี ก็เป็นอีกความเชื่อหนึ่งที่ประเทศไทยและเกาหลีใต้มีคล้ายกันด้วย   ‘มูดัง’ (무당) หรือร่างทรงในแบบเกาหลี ส่วนหนึ่งเกิดอยู่ภายใต้ความเชื่อของลัทธิเชมัน ศาสนาพื้นถิ่นของคนเกาหลีที่มีรูปแบบพิธีกรรมการร่ายรำเพื่อบูชาและขอพรต่อเทพเจ้า บวกกับความเชื่อเก...
ชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์
24 ตุลาคม 2021

สำรวจความเห็นปม ‘พระเกี้ยว’ ชัยวุฒิ ขอน้องนิสิตจุฬาฯ จัดกิจกรรมคิดถึงคุณค่าพระเกี้ยว เนติวิทย์ ระบุให้พี่ชัยวุฒิมาแบกเอง

หลังองค์การบริหารสโมสรนิสิจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อบจ.) ได้มีมติเอกฉันท์ ยกเลิกการเชิญตราพระเกี้ยว เข้าสู่งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ เพื่อสื่อสารถึงค่านิยมความไม่เท่าเทียมกันนั้น   ล่าสุดวันนี้ (24 ตุลาคม) ชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ รัฐมนตรีกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) ในฐานะนิสิตเก่าจุฬาฯ ได้แสดงความคิดเห็นผ่านเพจเฟซบุ๊ก...
Caladium
8 ตุลาคม 2021

เปิดตำนาน 140 ปีบอนสี จากบอนเจ้าสู่บอนไพร่ กระแสบอนจีน และ พส.เล่นต้นไม้

เห็นนักวิชาการและ ส.ส. ออกมาเตือนด้วยความเป็นห่วงถึงกระแสการเล่นบอนสีในไทยตอนนี้ว่าปั่นราคากันสูงมาก ซึ่งก็นับว่าเป็นความหวังดีที่ควรฟัง แต่ถ้าได้ย้อนกลับไปดูประวัติศาสตร์ของวงการบอนสีแล้ว จะพบว่าราคาบอนสีเคยสูงหลักแสนกันมาแล้วเมื่อเกือบร้อยปีก่อนเมื่อเทียบกับค่าเงินในปัจจุบัน คนในวงการบอนจริงๆ ไม่ได้ตื่นตระหนกอะไรกันมาก ราคาพวกนี้มีขึ้นมีลงเป็นปกต...
National Flag
7 ตุลาคม 2021

ธงชาติมีไว้ทำไม? ต้นกำเนิดของผืนผ้าที่รวมประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ความเชื่อ ประชากร และคุณค่าของชาติ

หลายคนอาจรู้สึกว่าการถามว่า ทำไมเราต้องมี ‘ธงชาติ’ หรือ National Flag เป็นคำถามที่ประหลาด   เพราะมันคล้ายเป็นสามัญสำนึกไปแล้ว ว่าชาติก็ต้องมีธงชาติ   แต่ลองฟังเรื่องเล่าจากหนังสือ A Flag Worth Dying For หรือ ‘ธงที่ควรค่าแก่การตายเพื่อ’ ของ ทิม มาร์แชลล์ นักเขียนชาวอังกฤษที่ทำงานเขียนเกี่ยวกับภูมิศาสตร์เรื่องนี้ดู   ...
ผีลิฟต์แดง
6 ตุลาคม 2021

‘ผีลิฟต์แดง’ การต่อสู้ทางวัฒนธรรมและการธำรงเรื่องเล่าเหตุการณ์ความรุนแรง 6 ตุลา 2519

เรื่องเล่าตำนานลิฟต์แดงและเหตุการณ์ 6 ตุลา   หากกล่าวถึงตำนานลิฟต์แดงธรรมศาสตร์ หลายต่อหลายคนคงเคยได้ยินได้ฟังเรื่องราวเล่าขานมาบ้างไม่มากก็น้อย   แต่สำหรับเด็กจากรั้วแม่โดมหรือเด็กธรรมศาสตร์แล้วนั้น อาจจะกล่าวได้ว่าแทบทุกคนคงไม่มีใครไม่เคยได้ยินเรื่องเล่าเกี่ยวกับตำนานลิฟต์แดงหรือเรื่องผีลิฟต์แดง   โดยเฉพาะเด็กคณะศิล...

Close Advertising